Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/476
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPanuwat Pattanaen
dc.contributorภานุวัฒน์ พัฒนาth
dc.contributor.advisorThidawan Unkongen
dc.contributor.advisorธิดาวัลย์ อุ่นกองth
dc.contributor.otherUniversity of Phayao. School of Educationen
dc.date.accessioned2022-07-25T02:55:21Z-
dc.date.available2022-07-25T02:55:21Z-
dc.date.issued17/10/2022
dc.identifier.urihttp://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/476-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed. (Educational Administration))en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม. (การบริหารการศึกษา))th
dc.description.abstractThe objectives in this study are: 1) To study the transformational leadership of school administrators 2) To study the teamwork of teachers 3) To study the relationship between the transformational leadership of school administrators and the teamwork of teachers. The participants in this research consists of 320 school administrators and teachers under the Office of Chiang Rai Primary Educational Service Area 3, selected by Stratified random sampling. The instrument used was a close-ended questionnaire which was measured by rating scale with 5 levels. The statistics applied consisted of the mean standard deviation and Pearson Product Moment Correlation. The results showed that: 1. Regarding the transformational leadership of school administrators, overall and in each aspect, were at a high level. Considering each aspect, it was found that the aspect of having an Idealized Influence had the highest average followed by the aspect of Intellectual Stimulation Individualized Consideration, and Inspiration Motivation respectively. 2. According to the teamwork of teachers, both overall and individual aspects were at a high level. The aspect with the highest average was Cooperation and followed by Communication, Coordination, and Creative Breakthrough respectively. 3. The relationship between transformational leadership of school administrators and teachers' teamwork, overall, showed that the correlation was at a very high level and had a significant positive correlation of .05, And the pair with the highest correlation was Intellectual Stimulation and Cooperation, And the pair with the lowest correlation was Idealized Influence or Charisma Leader and Creative break through.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาภาวะผู้นําการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา 2) เพื่อศึกษาการทํางานเป็นทีมของครู 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นําการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษากับการทํางานเป็นทีมของครู กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครู ในสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 3 จํานวน 320 คน ซึ่งคัดเลือก โดยวิธีการสุ่มแบบลำดับชั้น โดยใช้อำเภอเป็นชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม โดยมีลักษณะเป็นมาตราส่วนประมาณค่าชนิด 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสหสัมพันธ์เพียร์สัน ผลการวิจัย พบว่า 1. ภาวะผู้นําการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านมีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านการมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์ รองลงมา คือ ด้านการกระตุ้นการใช้ปัญญา ด้านการคำนึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคล และด้านการสร้างแรงบันดาลใจ ตามลำดับ 2. การทำงานเป็นทีมของครู โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านที่ค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านการร่วมมือ รองลงมา คือ ด้านการติดต่อสื่อสาร ด้านการประสานงาน ด้านการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง และด้านที่ความคิดสร้างสรรค์ ตามลำดับ 3. ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นําการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษากับการทํางานเป็นทีมของครู โดยภาพรวมอยู่ในระดับความสัมพันธ์สูงมากและมีความสัมพันธ์ทางบวก ที่นัยสำคัญทางสถิติ .05 เมื่อพิจารณารายคู่ พบว่า คู่ที่มีความสัมพันธ์สูงสุด คือ ด้านการกระตุ้นการใช้ปัญญากับด้านการร่วมมือ และคู่ที่มีความสัมพันธ์ต่ำสุด คือ ด้านการมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์กับด้านการมีความคิดสร้างสรรค์th
dc.language.isoth
dc.publisherUniversity of Phayao
dc.rightsUniversity of Phayao
dc.subjectภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงth
dc.subjectการทำงานเป็นทีมth
dc.subjectTransformational Leadershipen
dc.subjectTeamwork of Teacheren
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleTHE RELATIONSHIP BETWEEN TRANSFORMATIONAL LEADRSHIP OF ADNINSTRATORS AND TEAMWORK OF TEACHEVS UNDER CHIANG RAI RIMARYEDUCATIONALSERVICE AREA OFFICE 3en
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำของการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา กับการทำงานเป็นทีมของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาเชียงราย เขต 3th
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองth
Appears in Collections:School of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63205994.pdf5.58 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.