Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/451
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPiriyapong Tammapheechayaen
dc.contributorพิริยพงศ์ ธัมมาพีชยาth
dc.contributor.advisorThararat Malaitaoen
dc.contributor.advisorธารารัตน์ มาลัยเถาว์th
dc.contributor.otherUniversity of Phayao. School of Educationen
dc.date.accessioned2022-07-25T02:55:16Z-
dc.date.available2022-07-25T02:55:16Z-
dc.date.issued30/5/2022
dc.identifier.urihttp://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/451-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed. (Educational Administration))en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม. (การบริหารการศึกษา))th
dc.description.abstractThe purposes of this research were 1) to study the curriculum administration of the music classroom program in secondary schools, under the office of the basic education commission, 2) to compare the curriculum administration of the music classroom program in secondary schools, under the office of the basic education commission, classified by the size of the educational institution; the samples used in research were obtained from a specific randomized sample, from the population of 20 participating schools ; sample group was 300 people, the tool used as a 5-level estimation scale model based on the Likert model. The statistics used to analyze the data were percentage, mean, standard deviation, and the statistic used to test the hypothesis using the t-test. The results showed that 1. The curriculum administration of the music classroom program in secondary schools in all 5 aspects found that the overall level was at a high level, and when considering each aspect found that all aspects of curriculum administration were at a high level, the aspect with the highest average was the aspect of the preparation of educational institutions, followed by the aspect of curriculum development into practice. the curriculum administration assessment, curriculum consistency, respectively; The aspect with the lowest average was curriculum supervision 2. The results of a comparative analysis of the curriculum administration of the music classroom program in secondary schools, classified by school sizes, found that extra-large schools and large schools had overall curriculum administration, and each aspect was significantly different at the .01 level.en
dc.description.abstractการวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการบริหารหลักสูตรโครงการห้องเรียนดนตรี ในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2) เปรียบเทียบการบริหารหลักสูตรโครงการห้องเรียนดนตรีในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน จำแนกตามขนาดของสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้มาจากการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง แบบเฉพาะเจาะจง จากประชากรในโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ จำนวน 20 โรงเรียน จำนวน 300 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามรูปแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ตามแบบของลิเคิร์ท สถิติที่ใช้ ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและสถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐาน ใช้การทดสอบที (t-test) ผลการวิจัย พบว่า 1. การบริหารหลักสูตรโครงการห้องเรียนดนตรีในโรงเรียนมัธยมศึกษา ทั้ง 5 ด้าน พบว่า ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ทุกด้านมีการบริหารหลักสูตรอยู่ในระดับมาก โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านการเตรียมความพร้อมของสถานศึกษา รองลงมา คือ ด้านการพัฒนาหลักสูตรสู่การปฏิบัติ ด้านการประเมินผลการบริหารหลักสูตร ด้านการสร้างความสอดคล้องของหลักสูตร ตามลำดับ ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุด คือ ด้านการนิเทศหลักสูตร 2. ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบการบริหารหลักสูตรโครงการห้องเรียนดนตรีในโรงเรียนมัธยมศึกษา จำแนกตามขนาดของสถานศึกษา พบว่า โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษกับโรงเรียนขนาดใหญ่ มีการบริหารหลักสูตรในภาพรวมและรายด้านแตกต่างกัน อย่างมีนัยยะสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01th
dc.language.isoth
dc.publisherUniversity of Phayao
dc.rightsUniversity of Phayao
dc.subjectการบริหารth
dc.subjectหลักสูตรth
dc.subjectโครงการห้องเรียนดนตรีth
dc.subjectAdministrationen
dc.subjectCurriculumen
dc.subjectMusic Classroom Programen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleTHE CURRUCULUM ADMINISTRATION OF THE MUSIC CLASSROOM PROGRAMIN SECONDARY SCHOOLS, UNDER THE OFFICE OF THE BASICEDUCATION COMMISSIONen
dc.titleการบริหารหลักสูตรโครงการห้องเรียนดนตรีในโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานth
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองth
Appears in Collections:School of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63204386.pdf2.49 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.