Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/414
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Sriwan Srivichai | en |
dc.contributor | ศรีวรรณ์ ศรีวิชัย | th |
dc.contributor.advisor | Sunthon Khlal um | en |
dc.contributor.advisor | สุนทร คล้ายอ่ำ | th |
dc.contributor.other | University of Phayao. School of Education | en |
dc.date.accessioned | 2022-07-25T02:55:09Z | - |
dc.date.available | 2022-07-25T02:55:09Z | - |
dc.date.issued | 17/10/2022 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/414 | - |
dc.description | Master of Education (M.Ed. (Educational Administration)) | en |
dc.description | การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม. (การบริหารการศึกษา)) | th |
dc.description.abstract | The objectives of this research were 1) To study the operation of driving educational institutions to become learning centers according to the philosophy of sufficiency economy in education of administrators of educational institutions under the Chiang Mai Primary Educational Service Area Office, Chiang Mai Province 3. 2) Comparison of the operation of driving educational institutions to become learning centers according to the philosophy of sufficiency economy in education of administrators of educational institutions under Chiang Mai Primary Educational Service Area Office 3, classified by size of educational institutions. and work experience.The population and sample used in the research were 103 school administrators and teachers. The questionnaire was a 5-level rating scale. The statistics used for data analysis were percentage, mean, deviation. standard t-test independent and One-Way Analysis of Variance (ANOVA) Index of Conformity (IOC). The results of the research found that 1) The operation of the educational institution to be a learning center according to the philosophy of sufficiency economy in terms of overall education was at the highest level; Ready and organizing the learning system, Followed by changes that occur. School activities and student development activities and the aspect with the lowest mean was Networking and scaling. 2) The results of the comparison of the opinions of school administrators and teachers towards the implementation of the school's drive towards becoming a learning center according to the philosophy of sufficiency economy in education classified by school size. Overall and in each aspect, it was found that have an opinion no different and when compared according to work experience overall and in each aspect, it was found that there were opinions no different. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการดำเนินงานการขับเคลื่อนสถานศึกษาสู่การเป็น ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด้านการศึกษา ของผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3 2) เปรียบเทียบการดำเนินงานการขับเคลื่อนสถานศึกษาสู่การเป็นศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด้านการศึกษา ของผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3 จำแนกตามขนาดของสถานศึกษาและประสบการณ์ในการทำงาน ประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูจำนวน 103 คน เครื่องมือที่ใช้แบบสอบถามเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรูฐาน การทดสอบค่าที (t-test independent) และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-Way Analysis of Variance: ANOVA) ค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) จากผลการวิจัยพบว่า 1) การดำเนินงานการขับเคลื่อนสถานศึกษาสู่การเป็นศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด้านการศึกษา โดยภาพรวม อยู่ในระดับมากที่สุด ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ การเตรียมความพร้อมและ การจัดระบบการเรียนรู้ รองลงมา คือ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น กิจกรรมโรงเรียนและกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ การสร้างเครือข่ายและการขยายผล 2) ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาและครูที่มีต่อการดำเนินงานการขับเคลื่อนสถานศึกษาสู่การเป็นศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด้านการศึกษา จำแนกตามขนาดของสถานศึกษา โดยภาพรวมและรายด้านพบว่า มีความคิดเห็นไม่แตกต่างกัน และเมื่อเปรียบเทียบตามประสบการณ์ในการทำงาน โดยภาพรวมและรายด้าน พบว่า มีความคิดเห็นไม่แตกต่างกัน | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | University of Phayao | |
dc.rights | University of Phayao | |
dc.subject | การขับเคลื่อนสถานศึกษา | th |
dc.subject | ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด้านการศึกษา | th |
dc.subject | Educational strategies | en |
dc.subject | Philosophy of Sufficiency Economy | en |
dc.subject | Education | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.title | OPERATIONS TO DRIVE EDUCATIONAL INSTITUTIONS TO BECOME LEARNING CENTERSACCORDING TO THE PHILOSOPHY OF SUFFICIENCY ECONOMY IN EDUCATION OFADMINISTRATORS OF EDUCATIONAL INSTITUTIONS UNDER THE CHIANG MAIPRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE 3 | en |
dc.title | การดำเนินงานการขับเคลื่อนสถานศึกษาสู่การเป็นศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด้านการศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3 | th |
dc.type | Independent Study | en |
dc.type | การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง | th |
Appears in Collections: | School of Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
63170355.pdf | 2.78 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.