Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/402
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNongnut Jansaien
dc.contributorนงค์นุช จันทร์สัยth
dc.contributor.advisorWatchara Jatupornen
dc.contributor.advisorวัชระ จตุพรth
dc.contributor.otherUniversity of Phayao. School of Educationen
dc.date.accessioned2022-07-25T02:55:07Z-
dc.date.available2022-07-25T02:55:07Z-
dc.date.issued17/10/2022
dc.identifier.urihttp://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/402-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed. (Educational Administration))en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม. (การบริหารการศึกษา))th
dc.description.abstractThe self-study of this research on the creative leadership of school administrators in Mae Na Wang Subdistrict Educational Quality Development Center under Chiang Mai Primary Educational Service Area office 3 has the following objectives and to study the guidelines for developing creative leadership of school administrators in the Mae Na Wang Subdistrict Educational Quality Development Center under Chiang Mai Primary Educational Service Area office 3. The sample group used in this research consisted of 129 school administrators and teachers. The sample group was selected according to Craigie and Morgan’s table. The specific tool used for data collection was a questionnaire of 5 levels estimation scales. The statistics used for data analysis were mean, percentage, standard deviation. The results of the research ware as follows 1) The creative leadership of school administrators in the Mae Na Wang Subdistrict Educational Quality Development Center under Chiang Mai Primary Educational Service Area office 3 found that the overall level was at a high level. In terms of aspects, the highest mean was trust, followed by flexibility and vision, while the lowest mean was problem-solving. 2) Guidelines on the Creative thinking of school administrators in the Mae Na Wang Subdistrict Educational Quality Development Center under Chiang Mai Primary Educational Service Area office 3. 2.1) In terms of having a vision, administrators should be good listeners and listen to people’s opinions. And listen to the problems that arise within the school as well as listen to the reflections from outside images such as the community, parents and other agencies who that interest in the school 2.3) In problem solving, executives must have knowledge and experience in solving various problems at the right point. 2.4) Working as a team of executives with inspiration. Reinforcing motivation for personnel to cooperate in work. 2.5) As for trust, administrators need to trust and trust in school personnel who feel willing or agree to act on the suggestions of their subordinates command.en
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารโรงเรียนในกลุ่มศูนย์พัฒนาคุณภาพการศึกษาตำบลแม่นาวาง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3 และ 2) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารโรงเรียนในกลุ่มศูนย์พัฒนาคุณภาพการศึกษาตำบลแม่นาวาง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3 ประชากรที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา และครูผู้สอน จำนวน 129 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นแบบสอบถามชนิดมาตราส่วน ประมาณค่า 5 ระดับ ค่าความเชื่อมั่น 0.91 สถิติที่ใช้การวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1) ภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารโรงเรียนในกลุ่มศูนย์พัฒนาคุณภาพการศึกษาตำบลแม่นาวาง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3 พบว่า ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้าน ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ การไว้วางใจ รองลงมา คือ ด้านการมีความยืดหยุ่น และด้านการมีวิสัยทัศน์ ส่วนค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ด้านการแก้ปัญหา 2) แนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำ เชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารโรงเรียนในกลุ่มศูนย์พัฒนาคุณภาพการศึกษาตำบลแม่นาวาง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3 2.1) ด้านการมีวิสัยทัศน์ ผู้บริหารควรจะเป็นผู้ฟังที่ดี รับฟังความคิดเห็นของคนอื่น และรับฟังปัญหาที่เกิดขึ้นภายในโรงเรียน ทั้งยังรับฟังเสียงสะท้อนจากภาพนอก เช่น ชุมชน ผู้ปกครอง และหน่วยงานอื่น ๆ ที่มีส่วนได้ส่วนเสียกับทางโรงเรียน 2.2) ด้านการมีความยืดหยุ่น ผู้บริหารมีความสามารถในการปรับตัวให้เข้ากับสถานณการณ์ที่มีการเปลี่ยนแปลงได้อย่างเหมาะสม 2.3) ด้านการแก้ปัญหา ผู้บริหารต้องมีความรู้และประสบการณ์ในการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ที่ตรงจุด 2.4) ด้านการทำงานเป็นทีม ผู้บริหารมีการสร้างแรงบันดาลใจ แรงจูงใจให้กับบุคลากรในการร่วมมือกันทำงาน 2.5) ด้านการไว้วางใจ ผู้บริหารต้องมีการสร้างความเชื่อมั่น ศรัทธา และความไว้วางใจต่อบุคลากรในโรงเรียน รู้สึกเต็มใจหรือยินยอมที่จะกระทำตามข้อเสนอแนะของผู้ใต้บังคับบัญชาth
dc.language.isoth
dc.publisherUniversity of Phayao
dc.rightsUniversity of Phayao
dc.subjectภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์th
dc.subjectผู้บริหารโรงเรียนth
dc.subjectCreative Leadershipen
dc.subjectSchool Administratorsen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleTHE CREATIVE LEADERSHIP STUDIES OF SCHOOL ADMINISTRATORSIN THE MAE NA WANG SUBDISTRICT EDUCATIONAL QUALITYDEVELOPMENTCENTER UNDER THE CHIANGMAI PRIMARYEDUCATIONAL SERVICE OFFICE AREA 3en
dc.titleการศึกษาภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารโรงเรียนในกลุ่มศูนย์พัฒนาคุณภาพการศึกษา ตำบลแม่นาวาง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3th
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองth
Appears in Collections:School of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63170232.pdf2.48 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.