Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/361
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Tanaphat Wutthisarnwattana | en |
dc.contributor | ธนพัฒน์ วุฒิสารวัฒนา | th |
dc.contributor.advisor | Sukanya Kaowiwattanakul | en |
dc.contributor.advisor | สุกัญญา เกาะวิวัฒนากุล | th |
dc.contributor.other | University of Phayao. School of Liberal Arts | en |
dc.date.accessioned | 2022-07-22T08:10:52Z | - |
dc.date.available | 2022-07-22T08:10:52Z | - |
dc.date.issued | 7/2/2022 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/361 | - |
dc.description | Master of Arts (M.A. (English)) | en |
dc.description | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม. (ภาษาอังกฤษ)) | th |
dc.description.abstract | In the new globalization era, the requirements for internationalization have been driven in different higher educational institutions in order to update academic advancements, as well as to promote intercultural understandings and sustainable human developments. In other words, a variety of internationalizing methods including student and staff exchange, duo study programs, branch campuses, and distance learning can be implicated in all universities. Based on the mixed method, the major purposes of the study aimed to identify intercultural communication strategies used by Chinese students when interacting with Thais in a long-term Thai public university, as well as to investigate the Chinese students’ self-adaptation when encountering with their intercultural communication problems in a long-term Thai public university. For research methodology, using interview and questionnaire as a tool, 30 four-year Chinese students majoring in English Studies Program at the Faculty of Humanities, Chiang Rai Rajabhat University in the MOU with Pu’er Teachers’ College, Pu’er in Yunnan province of China were selected. The findings of the study revealed that all the aspects of the Chinese students’ intercultural communication strategies, with its mean of 2.08 and its standard deviation (x̅) of 0.85, were sometimes used when interacting with Thais in a public Thai university as compared to each aspect, it showed that asking for repetition on the unclear pronunciation or unfamiliar expressions (x̅ = 2.38, S.D. = 1.01) were frequently used, followed by avoiding talking about sensitive issues (x̅ = 2.14, S.D. = 0.91) and using your own language to facilitate the communication (x̅ = 2.14, S.D. = 0.93)., and using the partner’s mother tongue to facilitate the communication (x̅ = 2.10, S.D. = 0.93) | en |
dc.description.abstract | ในยุคโลกาภิวัตน์มีความต้องการความเป็นสากลในสถาบันการศึกษาในระดับสูงเพื่อพัฒนาความก้าวหน้าทางวิชาการตลอดจนส่งเสริมความเข้าใจระหว่างวัฒนธรรมและการพัฒนามนุษย์ที่ยั่งยืนกล่าวอีกนัยหนึ่ง คือ การสร้างความเป็นสากลอันมีความหลากหลายรวมไปถึงการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมของนักศึกษาและเจ้าหน้าที่ด้วยวิธีการวิจัยแบบผสมผสานมีจุดประสงค์หลักของการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อระบุกลยุทธ์การสื่อสารระหว่างวัฒนธรรมของนักศึกษาชาวจีนที่เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศเมื่อมีปฏิสัมพันธ์กับชาวไทยในระยะยาวตลอดจนเพื่อตรวจสอบการปรับตัวของของนักศึกษาชาวจีนที่เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศเมื่อเผชิญกับปัญหาการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรมสำหรับวิธีการวิจัยนักศึกษาชาวจีนที่เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศ ชี้นปีที่ 4 จำนวน 30 คน ที่เรียนวิชาภาษาอังกฤษศึกษาที่คณะมนุษยศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงรายในการ แลกเปลี่ยนนักศึกษากับมหาวิทยาลัยผู่เอ๋อเมืองผู่เอ๋อในมณฑลยูนานของจีน ผลการวิจัย พบว่า ทุกแง่มุมของกลยุทธ์การสื่อสารระหว่างวัฒนธรรมของนักศึกษาชาวจีนที่เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศมีค่าเฉลี่ย 2.08 และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน S.D. 0.85 ถูกนำมาใช้ “บางครั้ง” เมื่อมีปฏิสัมพันธ์กับคนไทยในมหาวิทยาลัยของรัฐในไทยเมื่อเทียบกับ แต่ละแง่มุมพบว่ามีการใช้การถามซ้ำในการออกเสียงที่ไม่ชัดเจนหรือสำนวนที่ไม่คุ้นเคย (x̅ = 2.38, S.D. = 1.01) ตามด้วยการหลีกเลี่ยงการพูดถึงประเด็นที่ละเอียดอ่อน (x̅ = 2.14, S.D. = 0.91) และการใช้ภาษาของตนเอง เพื่ออำนวยความสะดวกในการสื่อสาร (x̅ = 2.14, S.D. = 0.93) และใช้ภาษาแม่ของเพื่อนเพื่ออำนวยความสะดวกในการสื่อสาร (x̅ = 2.10, S.D. = 0.93) | th |
dc.language.iso | en | |
dc.publisher | University of Phayao | |
dc.rights | University of Phayao | |
dc.subject | กลยุทธ์การสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม | th |
dc.subject | การปรับตัว | th |
dc.subject | นักศึกษาจีน | th |
dc.subject | Intercultural Communication Strategy | en |
dc.subject | Self-adaptation | en |
dc.subject | Chinese Students | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.title | INTERCULTURAL COMMUNICATION STRATEGIES AND SELF-CULTURAL ADAPTATION OF CHINESE STUDENTS IN A THAIUNIVERSITY: A CASE STUDY OF CHIANG RAI RAJABHAT UNIVERSITY | en |
dc.title | กลยุทธ์การสื่อสารระหว่างวัฒนธรรมและการปรับตัวทางวัฒนธรรมของนักศึกษาชาวจีนในมหาวิทยาลัยในประเทศไทย: ศึกษากรณีมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | School of Liberal Arts |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
61410585.pdf | 2.31 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.