Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/358
Title: | COLLOCATION COMPETENCE: A CASE STUDY
OF UNDERGRADUATE STUDENTS ความสามารถในการใช้คำปรากฏร่วมของนักศึกษาระดับปริญญาตรี |
Authors: | Siriporn Tungyai ศิริพร ตุงใย Singkham Rakpa สิงห์คำ รักป่า University of Phayao. School of Liberal Arts |
Keywords: | คำปรากฎร่วม ความสามารถในการใช้คำปรากฎร่วม กลวิธีในการเลือกใช้คำปรากฎร่วม Collocation Collocation Competence The strategy used to overcome difficulties of collocation. |
Issue Date: | 7 |
Publisher: | University of Phayao |
Abstract: | Studying collocations among Thai university students, this study aims to determine which types of grammatical and lexical collocation are the most problematic, as well as the strategies used to overcome these difficulties. In this study, 34 fourth-year English major students at the University of Phayao agreed to participate. The research instruments used to investigate the participants’ competence of English collocation were 30 lexical collocation and 30 grammatical collocations based on Benson et al. (2010)’s strategy and explore the strategy used to overcome difficulties of collocation by semi-structured interview. The results revealed that the competence in English collocations of the participants was quite low (44.46%). The findings showed that the most problematic lexical group was found in Verb + Adverb (32.35%), followed by Adjective + Noun and Verb + Noun are the same score (47.35%). For grammatical collocation, the most problematic was found in Adjective + Preposition (41.76%). This was followed by Preposition + Noun (46.18%) and Noun + Preposition (51.76%), respectively. The results also pointed out that the word retrieval strategy was most frequently used (58.33%), followed by the approximate translation strategy (41.67%) respectively. การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสามารถในการใช้คำปรากฏร่วมในนิสิตมหาวิทยาลัยระดับปริญญาตรี, จำแนกหมวดหมู่ของคำปรากฏร่วมที่ปรากฎข้อผิดพลาดมากที่สุดและ ตรวจสอบกลวิธีที่กลุ่มตัวอย่างเลือกใช้เมื่อต้องตัดสินใจในการเลือกใช้คำปรากฎร่วม กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้คือ นิสิตวิชาเอกภาษาอังกฤษมหาวิทยาลัยพะเยา จำนวน 34 คน เครื่องมือวิจัยที่ใช้ ประกอบด้วยแบบทดสอบคำปรากฏร่วม โดยอ้างอิงกรอบแนวคิดคำปรากฎร่วม โดยเบนสัน (Benson et al. 2010) จำนวน 60 ข้อ โดยแบ่งเป็นกลุ่ม Lexical collocation 30 ข้อ, Grammatical collocation 30 ข้อ และแบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง ผลการศึกษาพบว่านิสิตมีความสามารถในการใช้คำปรากฏร่วม อยู่ในระดับค่อนข้างต่ำ (44.46%) ผลการวิจัยพบว่าหมวดหมู่ที่พบปัญหามากที่สุด ในส่วนของ Lexical Collocation คือ คำกริยา + กริยาวิเศษณ์ (32.35%) ตามด้วย คำคุณศัพท์ + คำนาม และ คำกริยา + คำนาม ซึ่งทั้งสองกลุ่มมีคะแนนเท่ากัน (47.35%) และในส่วนของ Grammatical collocation พบว่ากลุ่มที่มีปัญหามากที่สุดคือ คำคุณศัพท์ + คำบุพบท (41.76%) ตามด้วย คำบุพบท + คำนาม (46.18%) และ คำนาม + คำบุพบท (51.76%) ตามลำดับ ผลการวิจัยยังชี้ให้เห็นกลวิธีที่กลุ่มตัวอย่างเลือกมากที่สุดเมื่อเผชิญกับความยากหรือต้องตัดสินใจในการเลือกใช้คำปรากฎร่วม คือ การดึงคำ (Word retrieval) (58.33%) ตามด้วยกลยุทธ์การแปลแบบคร่าวๆ (Approximately translation) (41.67%). |
Description: | Master of Arts (M.A. (English)) ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม. (ภาษาอังกฤษ)) |
URI: | http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/358 |
Appears in Collections: | School of Liberal Arts |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
60113843.pdf | 1.05 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.