Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/354
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorJitlada Moonmaen
dc.contributorจิตรลดา มูลมาth
dc.contributor.advisorChittima Kaweeraen
dc.contributor.advisorจิตติมา กาวีระth
dc.contributor.otherUniversity of Phayao. School of Liberal Artsen
dc.date.accessioned2022-07-22T08:10:50Z-
dc.date.available2022-07-22T08:10:50Z-
dc.date.issued30/5/2022
dc.identifier.urihttp://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/354-
dc.descriptionDoctor of Philosophy (Ph.D. (English))en
dc.descriptionศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต (ศศ.ด. (ภาษาอังกฤษ))th
dc.description.abstractThe aims of this research were to study the effects of the students’ argumentative writing qualities by using collaborative writing activities, the students’ self-assessments of the critical thinking skills practiced in writing activities, and the students’ patterns of interaction during collaborative writing. The subjects of the study were thirty-two second-year English major students taking Writing II in the second semester of the academic year 2019 at a northern Thai university. The instruments consisted of individual and collaborative writing lesson plans that covered three weeks, with four hours in each class, and a writing model. Data was collected from the students’ argumentative writing assignments, students’ self-assessment of critical thinking practiced in writing activities through a questionnaire and a semi-structured interview, plus conversations observed and documented during collaborative writing activities. The data was analyzed by using descriptive statistics (mean and standard deviation), and data linguistics were analyzed by Revised Bloom’s Taxonomy and Storch’s model. The results of the students’ argumentative writing revealed that group work led to the highest scores in all proficiency levels. In groups, the students’ critical thinking improved regarding analyzing, evaluating, and creating information when they brainstormed, shared, and discussed all the information. The highest degree of critical thinking skills practiced was found in groups, followed by pairs, and individuals, respectively. Regarding patterns of interaction, the advanced and intermediate students engaged and interacted better than novice students. The roles of advanced and intermediate students were shown to be expert and collaborative, whereas the novice students were found to be passive.en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ เปรียบเทียบผลกระทบในการเขียนภาษาอังกฤษเชิงโต้แย้ง โดยใช้การเขียนแบบร่วมมือ ศึกษาการประเมินตนเองของผู้เรียนที่มีต่อการใช้ทักษะการคิดวิเคราะห์ในการเขียนแบบต่าง ๆ และศึกษารูปแบบของการปฏิสัมพันธ์ของผู้เรียนในระหว่างการเขียนแบบร่วมมือ กลุ่มเป้าหมายเป็นนักศึกษาสาขาวิชาภาษาอังกฤษชั้นปีที่ 2 ของมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งทางภาคเหนือของประเทศไทย ที่เรียนวิชาการเขียน 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 จำนวน 32 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการเรียนรู้การเขียนภาษาอังกฤษเชิงโต้แย้งแบบร่วมมือและแบบเดี่ยว จำนวน 3 สัปดาห์ คาบละ 4 ชั่วโมง และ รูปแบบการเขียนแบบร่วมมือ เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบวัดความสามารถในการเขียนภาษาอังกฤษเชิงโต้แย้ง แบบประเมินตนเองต่อการใช้ทักษะการคิดวิเคราะห์ในการเขียนแบบต่าง ๆ แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง แบบสังเกต จากนั้นนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ โดยการหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ในส่วนข้อมูลเชิงคุณภาพถูกนำมาวิเคราะห์ภายใต้กรอบแนวคิดของบลูมและของสตอร์ช. ผลการวิจัย พบว่า การเขียนภาษาอังกฤษเชิงโต้แย้งของผู้เรียนโดยภาพรวม ผู้เรียนในการทำงานเป็นกลุ่มมีคะแนนสูงสุด การทำงานทักษะการคิดวิเคราะห์ของผู้เรียนแบบกลุ่มพัฒนาขึ้นในเชิงทักษะการวิเคราะห์ การประเมินค่า และการคิดสร้างสรรค์เมื่อผู้เรียนได้มีการระดมความคิดเห็น แลกเปลี่ยนข้อมูลต่าง ๆ และอภิปรายร่วมกัน เมื่อเปรียบเทียบกับการเขียนในลักษณะคู่และเดี่ยว ผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้านการประเมินตนเองพบว่า ทักษะการคิดวิเคราะห์ของผู้เรียนแบบกลุ่มมีระดับสูงสุด ตามด้วยแบบคู่และแบบเดี่ยวตามลำดับ ผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้านรูปแบบการปฏิสัมพันธ์ พบว่า ผู้เรียนในกลุ่มเก่งและปานกลางมีรูปแบบการมีส่วนร่วมในการทำงานดีกว่าผู้เรียนในกลุ่มอ่อน บทบาทของผู้เรียนในกลุ่มเก่งและปานกลาง พบว่า มีลักษณะเป็นผู้เชี่ยวชาญและมีการร่วมมือ ในขณะที่ผู้เรียนในระดับอ่อน พบว่า มีลักษณะเป็นผู้ตามth
dc.language.isoen
dc.publisherUniversity of Phayao
dc.rightsUniversity of Phayao
dc.subjectการเขียนเชิงโต้แย้งth
dc.subjectการเขียนแบบร่วมมือth
dc.subjectทักษะการคิดวิเคราะห์th
dc.subjectรูปแบบการปฏิสัมพันธ์th
dc.subjectargumentative writingen
dc.subjectcollaborative writingen
dc.subjectcritical thinkingen
dc.subjectpatterns of interactionen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleCOLLABORATIVE WRITING TASKS IN EFL CLASSROOM: COMPARING GROUP, PAIR, AND INDIVIDUAL WORK IN ARGUMENTATIVE WRITINGen
dc.titleการเปรียบเทียบทักษะการเขียนเชิงโต้แย้งแบบกลุ่ม แบบคู่ และแบบเดี่ยวในผู้เรียนภาษาอังกฤษth
dc.typeDissertationen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:School of Liberal Arts

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
59113740.pdf2.76 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.