Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/353
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorBoonluk Punyaluangen
dc.contributorบุญลักษณ์ ปัญญาหลวงth
dc.contributor.advisorThiti Waikaveeen
dc.contributor.advisorธิติ ไวกวีth
dc.contributor.otherUniversity of Phayao. School of Lawen
dc.date.accessioned2022-07-22T04:38:32Z-
dc.date.available2022-07-22T04:38:32Z-
dc.date.issued11/10/2021
dc.identifier.urihttp://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/353-
dc.descriptionMaster of Laws (LL.M.)en
dc.descriptionนิติศาสตรมหาบัณฑิต (น.ม.)th
dc.description.abstractThis legal research is a documental research. It analyzes problems in practice in the Sand Suction regulation B.C. 2546 in Public River which are at risk of ecological effects. By comparing to the Mining Act B.C. 2560 and the principles of legal environment and natural resources, the result pointed that sand river suction is a loophole of law and the said regulation is irrelevant with the Mining Act and inappropriate with current situation on natural resources depletion.en
dc.description.abstractงานวิจัยทางกฏหมายชิ้นนี้เป็นงานเชิงเอกสาร (Documental Research) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาช่องโหว่ทางกฎหมายปัจจุบันที่เกี่ยวข้องกับการดูดทรายแม่น้ำที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และเพื่อเสนอแนะมาตรการทางธรรมาภิบาลสิ่งแวดล้อมในกิจการดูดทรายแม่น้ำ โดยวิเคราะห์สภาพปัญหาทางปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการขออนุญาตดูดทราย พ.ศ.2546 ในกิจกรรมดูดทรายแม่น้ำสาธารณะ ซึ่งมีความเสี่ยงต่อการก่อให้เกิดผลกระทบทางนิเวศวิทยาแม่น้ำ โดยวิธีเปรียบเทียบกับพระราชบัญญัติแร่ พ.ศ. 2560 และหลักธรรมาภิบาลสิ่งแวดล้อม โดยผลการวิจัยได้ชี้ให้เห็นช่องโหว่ของกฎหมายที่เกี่ยวข้องเพื่อประโยชน์ในทางธุรกิจดูดทรายแม่น้ำ ทั้งนี้ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการขออนุญาตดูดทราย พ.ศ.2546 ไม่สอดคล้องกับพระราชบัญญัติแร่ พ.ศ. 2560 และไม่สอดคล้องกับธรรมาภิบาลสิ่งแวดล้อม th
dc.language.isoth
dc.publisherUniversity of Phayao
dc.rightsUniversity of Phayao
dc.subjectการดูดทรายเเม่น้ำth
dc.subjectกฎหมายดูดทรายแม่น้ำth
dc.subjectธรรมภิบาลสิ่งแวดล้อมth
dc.subjectเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนth
dc.subjectประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมth
dc.subjectThe sand suction regulation B.C. 2546en
dc.subjectEnvironmental governanceen
dc.subjectSustainable development goalsen
dc.subjectPublic participationen
dc.subjectEnvironmental impact assessmenten
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleEnvironmental Governance: A Case Study of Sustainable River Sand Suctionen
dc.titleธรรมาภิบาลสิ่งเเวดล้อม: กรณีการดูดทรายเเม่น้ำอย่างยั่งยืนth
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองth
Appears in Collections:School of Law

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60170048.pdf4.73 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.