Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/299
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPoompat Homoben
dc.contributorภูมิพัฒน์ หอมอบth
dc.contributor.advisorSomanat Sompraserten
dc.contributor.advisorโสมนัส สมประเสริฐth
dc.contributor.otherUniversity of Phayao. School of Energy and Environmenten
dc.date.accessioned2021-02-15T08:00:32Z-
dc.date.available2021-02-15T08:00:32Z-
dc.date.issued13/11/2020
dc.identifier.urihttp://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/299-
dc.descriptionMaster of Engineering (M.Eng. (Environmental Engineering))en
dc.descriptionวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วศ.ม. (วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม))th
dc.description.abstractFishery culture consumes a lot of water resource. The fishery wastewater contaminated with fish food waste and fish excreta which was needed to treat before releasing into nature. This study was aimed to find the suitability constructed wetland system that could help improved the water quality to meet the requirement of water reclamation in fishery culture. Four types of constructed wetland models with are free water surface flow, horizontal subsurface flow, vertical subsurface flow and floating constructed wetland were used in this study. Each reactor model was 0.5 m wide, 0.7 m long and 0.4 m depth planted with Thalia dealbata J.Fraser. and Cyperus alternifolius. The wastewater from the fish pond was pumped into the model reactor continuously. The result showed that both types of subsurface flow constructed wetland system give higher treatment efficiencies than the systems without media. The horizontal subsurface flow system could remove COD, SS, TKN and ortho-P 61, 66, 75 and 53 %, respectively with Thalia dealbata J.Fraser. and 76, 73, 66 and 53 %, respectively with Cyperus alternifolius.en
dc.description.abstractการเพาะเลี้ยงปลามีการใช้ทรัพยากรน้ำเป็นจำนวนมาก และน้ำทิ้งที่เกิดขึ้นจากบ่อเพาะเลี้ยงปลาจัดเป็นน้ำเสียที่จำเป็นต้องมีการบำบัดเนื่องจากมีการปนเปื้อนจากเศษอาหาร และสิ่งขับถ่ายของปลาอีกด้วย จึงควรมีการบำบัดก่อนปล่อยลงสู่ธรรมชาติ การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาความเหมาะของชนิดระบบบึงประดิษฐ์ในการบำบัดน้ำเสียจากการเพาะเลี้ยงปลา ตลอดจนสามารถนำกลับมาหมุนเวียนใช้ใหม่ได้ แบบจำลองบึงประดิษฐ์ที่ใช้ในการทดลองมี 4 แบบ ได้แก่ น้ำไหลเหนือผิวชั้นกรอง, น้ำไหลใต้ผิวชั้นกรองในแนวราบ, น้ำไหลใต้ผิวชั้นกรองในแนวดิ่ง และแบบลอยน้ำ แบบจำลองระบบบึงประดิษฐ์ที่ใช้ทดลองของแต่ละระบบมีขนาดขนาดกว้าง 0.5 เมตร ยาว 0.7 เมตร ลึก 0.4 เมตร ปลูกด้วยต้นคล้าน้ำ และกกลังกา น้ำเสียจากบ่อเลี้ยงปลาถูกสูบป้อนเข้าสู่แบบจำลองแบบต่อเนื่อง ผลการวิจัย พบว่าแบบจำลองบึงประดิษฐ์แบบไหลใต้ผิวชั้นกรองแบบแนวราบ และแบบแนวดิ่งนั้น มีประสิทธิภาพในการบำบัดน้ำเสียจากการเพาะเลี้ยงปลาได้ดีกว่าแบบจำลองบึงประดิษฐ์แบบไม่มีชั้นกรอง แบบจำลองระบบบึงประดิษฐ์แบบไหลใต้ผิวชั้นกรองแบบแนวราบ มีประสิทธิภาพในการบำบัดซีโอดี ของแข็งแขวนลอย เจลดาลห์ไนโตรเจน และออโธฟอสเฟต ของต้นคล้าน้ำมีค่าเท่ากับร้อยละ 61, 66, 75,  และ53 ตามลำดับ และต้นกกลังกามีค่าเท่ากับร้อยละ 76, 73, 66. และ53 ตามลำดับth
dc.language.isoth
dc.publisherUniversity of Phayao
dc.rightsUniversity of Phayao
dc.subjectคล้าน้ำth
dc.subjectกกลังกาth
dc.subjectการนำน้ำเสียกลับมาใช้ใหม่th
dc.subjectน้ำเสียจากการเลี้ยงปลาth
dc.subjectบึงประดิษฐ์th
dc.subjectConstructed wetlanden
dc.subjectThalia dealbata J.Fraseren
dc.subjectFishery Wastewateren
dc.subjectWastewater Reclamationen
dc.subjectCyperus alternifolius.en
dc.subject.classificationEnvironmental Scienceen
dc.titleUsing of Constructed Wetland Systems in Fishery Wastewater Reclamationen
dc.titleการใช้ระบบบึงประดิษฐ์ในการปรับปรุงคุณภาพน้ำเสียจากการเลี้ยงปลาเพื่อนำกลับมาใช้ใหม่th
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองth
Appears in Collections:School of Energy and Environment

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
59170631.pdf2.33 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.