Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/286
Title: A STUDY OF DESIRALDE CHARACTERISTICS OF SCHOOL ADMINISTRATORSS IN THE 21st IN MAESAI, CHIANG RAI PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE 3
การศึกษาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21ในอำเภอแม่สาย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 3
Authors: Lanna Rakngam
ลานนา รักงาม
Sunthon Khlaium
สุนทร คล้ายอ่ำ
University of Phayao. School of Education
Keywords: คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษา
Desirable Characteristics of Excutive Education
Issue Date:  29
Publisher: University of Phayao
Abstract: The purpose of this research 1) To study the desirable characteristics of school administrators in the 21st century in Mae Sai District Under the Office of Chiang Rai Primary Education Area, Area 3 2) to compare the desirable characteristics of school administrators in the 21st century in Mae Sai district Under the Office of Chiang Rai Primary Education Area, Area 3. The sample group used in the research was the school administrators and the school administration heads. The research instruments were a questionnaire with 5 rating scales. The statistics used for data analysis were frequency, percentage, mean and standard deviation, t-test, F-test and One-way ANOVA One-Way Analysis. From the research, it was found that 1) Desirable characteristics of school administrators in the 21st century in Mae Sai District Under the Chiang Rai Primary Educational Service Area Office 3, in overall and in each level, at a high level. Ordered as follows Vision. Communication and technology. Academic knowledge In the construction of a learning community network Morality and ethics And in the field of empowerment and positive inspiration. 2) The results of comparing the desirable characteristics of school administrators in the 21st century in Mae Sai District Under the Office of Chiang Rai Primary Educational Service Area 3, classified by position, found that Overall, there is no statistically significant difference. Classified by educational background, it was found that In general, there are significant differences at the level of .05 Classified by work experience, found that Overall, there are statistically significant differences at the .05 level and classified by institution size. Overall, there is no statistically significant difference.
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 ในอำเภอแม่สาย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 3 2) เพื่อเปรียบเทียบคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 ในอำเภอแม่สาย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 3 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและหัวหน้าฝ่ายบริหารงานของสถานศึกษา จำนวนทั้งสิ้น 130 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบ t-test การทดสอบ F-test และ การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว One-way ANOVA  จากผลการวิจัย พบว่า 1) คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 ในอำเภอแม่สาย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 3 โดยภาพรวมและรายด้าน อยู่ในระดับมาก 2) ผลการเปรียบเทียบคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 ในอำเภอแม่สาย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 3 จำแนกตามตำแหน่งพบว่า โดยภาพรวมไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ จำแนกตามวุฒิการศึกษา พบว่า โดยภาพรวมมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จำแนกตามประสบการณ์ในการทำงาน พบว่า โดยภาพรวมมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และจำแนกตามขนาดของสถานศึกษา พบว่า โดยภาพรวมไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
Description: Master of Education (M.Ed. (Educational Administration))
การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม. (การบริหารการศึกษา))
URI: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/286
Appears in Collections:School of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61500732.pdf4.44 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.