Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/285
Title: | SKILLS OF SCHOOL ADMINSISTRATORS IN THE 21st CENTURY UNDER IN CHIANG SAEN DISTRICT SECONDARY EDUCATIONAL CHIANGRAI PRIMARY EDUCATION SERVICE AREA OFFICE 3 ทักษะของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 ในอำเภอเชียงแสน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 3 |
Authors: | Maytaphorn Cheevachayaphorn เมธาพร ชีวชยาภรณ์ Sunthon Khlaium สุนทร คล้ายอ่ำ University of Phayao. School of Education |
Keywords: | ทักษะของผู้บริหารสถานศึกษา ทักษะในศตวรรษที่ 21 Skills of School Administrators Skills in the 21st Century |
Issue Date: | 29 |
Publisher: | University of Phayao |
Abstract: | This study aims to 1) to study executive skills in the 21st century under the Office of Chiangai Primary Education Area, Area 3 2) To compare the skills of school administrators in the 21st century under the Office of ChiangRai Primary Education Area, Area 3, classified by gender, work experience and position. The samples group used School administrators and government teachers in ChiangSaen District under the Office of ChiangRai Primary Educational Service Area 3, total 181 persons. After that, the researcher randomized the samples by using the numbering method of Crazy and Morgan and dividing the sample groups by position classification. Study instruments was the questionnaire was a rating scale with 5 levels. The statistics used for data analysis were percentage, mean, standard deviation. Statistics used in hypothesis testing T-test independent and One-Way Analysis of Variance (ANOVA). When finding the differences, the Scheffe 'method is used to test the individual differences.
The results found that 1.)The skills of the school administrators in the 21st century in Chiang Saen district, under the Office of ChiangRai Primary Education Area 3, in overall and the details was at the high level with the highest value was moral and ethics skills. Next is technology skills, teamwork skills, innovation skills and the lowest mean was the creative skills. 2.)The results of the comparison of the skills of the school administrators in the 21st century in Chiang Saen district, under the Office of ChiangRai Primary Education Area, Region 3, consisting of technology skills, creative skills, innovation skills, teamwork skills and skills in morality and ethics, classified by gender and job position. There was no statistically significant difference in both the overall and each aspect. As for classification based on work experience, it was found that the overall and each aspect are different. Significantly at the level of 0.05 การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาทักษะของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 ในอำเภอเชียงแสน สังกัดสำนักงานพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงรายเขต 3 2) เพื่อเปรียบเทียบทักษะของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 ในอำเภอเชียงแสนสังกัดสำนักงานพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 3 จำแนกตามเพศ ประสบการณ์ทำงานและตำแหน่งงาน ประชากรที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและข้าราชการครูในอำเภอเชียงแสน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 3 จำนวน 181 คน จากนั้นกำหนดกลุ่มตัวอย่างจากการเปิดตารางของเครจซี่และมอร์แกน แบ่งกลุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นตามตำแหน่งงาน เครื่องมือที่ใช้แบบสอบถามเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ มี สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที (t-test independent) และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One–Way Analysis of Variance: ANOVA) เมื่อพบความแตกต่าง ใช้วิธีทดสอบความแตกต่างรายคู่ตามวิธีของเชฟเฟ่ (Scheffe’) จากผลการวิจัยพบว่า 1) ทักษะของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 ในอำเภอเชียงแสน สังกัดสำนักงานพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 3 โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ทักษะด้านคุณธรรม จริยธรรม รองลงมาเป็นทักษะด้านเทคโนโลยี ทักษะด้านการทำงานเป็นทีม ทักษะด้านนวัตกรรมและ ด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ทักษะด้านความคิดสร้างสรรค์ 2) จากผลการเปรียบเทียบทักษะของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 ในอำเภอเชียงแสน สังกัดสำนักงานพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 3 ประกอบด้วยทักษะด้านเทคโนโลยี ทักษะด้านความคิดสร้างสรรค์ ทักษะด้านนวัตกรรม ทักษะด้านการทำงานเป็นทีม และทักษะด้านคุณธรรม จริยธรรม โดยจำแนกตามเพศและตำแหน่งงาน พบว่า ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติทั้งภาพรวมและรายด้าน ส่วนการจำแนกตามประสบการณ์การทำงาน พบว่า ทั้งภาพรวมและรายด้านมีความแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 |
Description: | Master of Education (M.Ed. (Educational Administration)) การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม. (การบริหารการศึกษา)) |
URI: | http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/285 |
Appears in Collections: | School of Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
61500721.pdf | 4.11 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.