Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/284
Title: THE STUDY OF CREATIVE LEADERSHIP OF SCHOOL ADMINISTRATORS UNDER THE OFFICE OF NAN EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE 1
การศึกษาภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1
Authors: Pimtanaporn Nunpiwong
พิมพ์ธนพร นันภิวงค์
Sunthon Khlaium
สุนทร คล้ายอ่ำ
University of Phayao. School of Education
Keywords: ภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์
Creative leadership
Issue Date:  29
Publisher: University of Phayao
Abstract: The purpose of this research was (1) to study the creative leadership of school administrators. Under the Office of Nan Educational Service Area 1 (2) to compare creative leadership of school administrators Under the Office of Nan Educational Service Area 1, according to the opinions of personnel classified by work experience The samples used in the study were school administrators and teachers in educational institutions. Under the Office of Nan Educational Service Area 1, consisting of 297 people, by specifying the size of the sample by opening the Crazy and Morgan tables. Stratified sampling By using the position as a random layer The data were analyzed using percentage, mean, standard deviation and One Way ANOVA. Scheffe’s pair comparison The results of the research showed that 1. Creative leadership of school administrators Under the Office of Nan Educational Service Area 1, the overall leadership styles of 5 school administrators were at a high level. When considered in each aspect, it was found that the creative leadership of the school administrators were at the highest level, 2 aspects and 3 levels of highest level, with the highest mean being vision. And the flexibility The highest level followed by motivation and imagination were at the highest level respectively, while the lowest mean was the problem solving at the high level. 2. A Comparison of Creative Leadership Differences among School Administrators Under the Office of Nan Educational Service Area 1, according to the opinions of personnel classified by work experience, personnel with different work experiences have opinions towards creative leadership of school administrators. Under the Office of Nan Educational Service Area 1, there was a statistically significant difference at the 0.05 level of vision. Flexibility Problem solving And motivation And found no difference with the statistically significant level 0.05 in the imagery aspect
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 (2) เพื่อเปรียบเทียบภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 ตามความคิดเห็นของบุคลากรจำแนกตามประสบการณ์ในการทำงาน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 จำนวน 297 คน โดยกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างจากการเปิดตารางเครจซี่และมอร์แกน การสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น โดยใช้ตำแหน่งเป็นชั้นในการสุ่ม นำมาวิเคราะห์โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปสถิติที่ใช้ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One Way ANOVA) การเปรียบเทียบรายคู่ของ Scheffe’s ผลการวิจัย พบว่า 1. ภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 ในภาพรวมภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา 5 ด้าน อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษาอยู่ในระดับมากที่สุด 2 ด้าน และระดับมาก 3 ด้าน ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านวิสัยทัศน์ และด้านความยืดหยุ่น ระดับมากที่สุด รองลงมา คือ ด้านแรงจูงใจ และด้านจินตนาการ ระดับมาก ตามลำดับ ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ด้านการแก้ปัญหา ระดับมาก 2. การเปรียบเทียบความแตกต่างของภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 ตามความคิดเห็นของบุคลากรจำแนกตามประสบการณ์ในการทำงานบุคลากรที่มีประสบการณ์ในการทำงานต่างกันมีความคิดเห็นต่อภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 แตกต่างกันอย่างมีระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 ในด้านวิสัยทัศน์ ด้านความยืดหยุ่น ด้านการแก้ปัญหา และด้านแรงจูงใจ และพบว่าไม่แตกต่างกันอย่างมีระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 ในด้านจินตนาการ
Description: Master of Education (M.Ed. (Educational Administration))
การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม. (การบริหารการศึกษา))
URI: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/284
Appears in Collections:School of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61500710.pdf4.03 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.