Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/277
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorKwuntira Tirawongen
dc.contributorขวัญทิรา ทิราวงศ์th
dc.contributor.advisorSanti Buranacharten
dc.contributor.advisorสันติ บูรณะชาติth
dc.contributor.otherUniversity of Phayao. School of Educationen
dc.date.accessioned2021-01-22T06:41:48Z-
dc.date.available2021-01-22T06:41:48Z-
dc.date.issued29/6/2020
dc.identifier.urihttp://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/277-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed. (Educational Administration))en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม. (การบริหารการศึกษา))th
dc.description.abstractThe study aimed to examine and compare the strategic leadership of school administrators under the Secondary Educational Service Area, Office 37. The data is based on the opinion and feedback from administrators and government teachers in the school which is classified by the size of schools and working of experiences. The sample group was 259 administrators and government teacher under the Secondary Educational Service Area, Office 37 using the Stratified Random Sampling method. The instrument used a questionnaire with 1-5 level of Likert’s rating scale with the reliability of 0.99. For analyzing the data, the research chose statistical analysis to interpret the result of the data by using percentage, mean and standard deviation and Analysis of Variance: One–Way ANOVA and checking the differences of pair with Schefft’s method. The result had revealed that 1. The strategic leadership of school administrators under the Secondary Educational Service Area, Office 37 based on the opinion and feedback from administrators and teachers was significantly high.  2. The result of comparing the strategic leadership of school administrators under the Secondary Educational Service Area, Office 37 based on the opinion and feedback from administrators and teachers classified by size of school had shown a statistical significance at .05 level in terms of determination of vision. 3. The result of comparing the strategic leadership of school administrators under the Secondary Educational Service Area, Office 37 based on the opinion and feedback from administrators and teachers classified by working of experiences the overall result had presented the statistical significance at .05 level in terms of high level of understanding and the ability to import various factor inputs to determine strategies.en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาและเพื่อเปรียบเทียบภาวะนำเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 37 ตามความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาและข้าราชการครู จำแนกตามขนาดของสถานศึกษาและประสบการณ์ในการทำงาน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครู ปีการศึกษา 2562 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 37 กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางเทียบกลุ่มตัวอย่างของเครจซี่ และมอร์แกน (Krejecie and Morgan, 1970, pp. 607-610) และการสุ่มแบบชั้น (Stratified Random Sampling) ใช้ขนาดของสถานศึกษาเป็นชั้นในการสุ่ม ได้กลุ่มตัวอย่าง 259 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม แบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ตามวิธีคิดของลิเคิร์ท มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.99 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมุติฐานการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One–Way Analysis of Variance: ANOVA) เมื่อพบความแตกต่างใช้วิธีทดสอบความแตกต่างรายคู่ตามวิธีของเชฟเฟ่ (Scheffe’) ผลการวิจัยพบว่า 1. ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 37 ตามความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาและข้าราชการครู โดยรวมอยู่ในระดับมาก  2. ผลการเปรียบเทียบภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 37 ตามความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาและข้าราชการครูจำแนกตามขนาดของสถานศึกษา เมื่อพิจารณาโดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ด้านการกำหนดวิสัยทัศน์ 3. ผลการเปรียบเทียบภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 37 ตามความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาและข้าราชการครูจำแนกตามประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน เมื่อพิจารณาโดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ด้านความคิดความเข้าใจระดับสูงและด้านความสามารถในการนำปัจจัยนำเข้าต่างๆมากำหนดกลยุทธ์th
dc.language.isoth
dc.publisherUniversity of Phayao
dc.rightsUniversity of Phayao
dc.subjectภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์th
dc.subjectภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารสถานศึกษาth
dc.subjectThe Strategic Leadership.en
dc.subjectThe Strategic Leadership of School Administrators.en
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleThe Strategic Leadership of School Administrators under the Secondary Educational Service Area, Office 37en
dc.titleภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 37th
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองth
Appears in Collections:School of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61500642.pdf3.32 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.