Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/268
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Siriphan Choosakul | en |
dc.contributor | สิริพรรณ ชูสกุล | th |
dc.contributor.advisor | Thidawan Unkong | en |
dc.contributor.advisor | ธิดาวัลย์ อุ่นกอง | th |
dc.contributor.other | University of Phayao. School of Education | en |
dc.date.accessioned | 2021-01-22T06:41:47Z | - |
dc.date.available | 2021-01-22T06:41:47Z | - |
dc.date.issued | 29/6/2020 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/268 | - |
dc.description | Master of Education (M.Ed. (Educational Administration)) | en |
dc.description | การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม. (การบริหารการศึกษา)) | th |
dc.description.abstract | The purpose of this study were to 1) study the level of principal’s instructional leadership of school administrator in school located in high area 2) study the level of professional learning community of school administrator in school located in high area 3) analyze the relationship between principal’s instructional leadership of school administrator and professional learning community of school administrator in school located in high area. A sample was selected from 217 people include 174 teachers and 43 education personnel in school located in high area Chiangrai Primary Educational Service Area Office 3. The study instrument was questionnaires with 5 rating scale and a reliability of 0.98. The statistical treatment used frequencies, percentage, mean, standard deviation, and Pearson correlation. The results of the study were as follow: 1) The principal’s instructional leadership of school administrator in school located in high area reveals that the overall aspects were at the ‘’high’’ level. 2) The professional learning community of school administrator in school located in high area reveals that the overall aspects were at the ‘’high’’ level. 3) the relationship between principal’s instructional leadership of school administrator and professional learning community of school administrator in school located in high area reveals that the overall aspects were high positive correlation and statistically significant at 0.01 level. | en |
dc.description.abstract | การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษากับการเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพของโรงเรียนบนพื้นที่สูง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 3 ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาของโรงเรียนบนพื้นที่สูง 2) เพื่อศึกษาการเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้วิชาชีพของโรงเรียนบนพื้นที่สูง และ 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษากับการเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ของโรงเรียนบนพื้นที่สูง งานวิจัยนี้ศึกษาจากกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูและบุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียนบนพื้นที่สูง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 3 จำนวน 217 คน ได้แก่ ครู จำนวน 174 คน และบุคลากรทางการศึกษา จำนวน 43 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับและมีค่าความเชื่อมั่นที่ระดับ 0.98 สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการศึกษา พบว่า 1) ภาวะผู้นําทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนบนพื้นที่สูง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 3 ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก 2) การเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้วิชาชีพของผู้บริหารโรงเรียนบนพื้นที่สูง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 3 ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก 3) ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นําทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษากับการเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้วิชาชีพของผู้บริหารโรงเรียนบนพื้นที่สูง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 3 โดยภาพรวมมีความสัมพันธ์ทางบวกระดับสูงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | University of Phayao | |
dc.rights | University of Phayao | |
dc.subject | ภาวะผู้นำทางวิชาการ | th |
dc.subject | การเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ | th |
dc.subject | Instructional leadership | en |
dc.subject | Professional Learning Community | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.title | THE RELATIONSHIP BETWEEN PRINCIPAL’S INSTRUCTIONAL LEADERSHIPAND PROFESSIONAL LEARNING COMMUNITY FOR THE SCHOOLLOCATED IN HIGH AREA, CHIANGRAI PRIMARYEDUCATION SERVICE AREA OFFICE 3 | en |
dc.title | ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษากับการเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพของโรงเรียนบนพื้นที่สูงสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 3 | th |
dc.type | Independent Study | en |
dc.type | การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง | th |
Appears in Collections: | School of Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
61170397.pdf | 3.19 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.