Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/264
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Worawit Khaofong | en |
dc.contributor | วรวิทย์ ขาวฟอง | th |
dc.contributor.advisor | Thidawan Unkong | en |
dc.contributor.advisor | ธิดาวัลย์ อุ่นกอง | th |
dc.contributor.other | University of Phayao. School of Education | en |
dc.date.accessioned | 2021-01-22T06:41:47Z | - |
dc.date.available | 2021-01-22T06:41:47Z | - |
dc.date.issued | 29/6/2020 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/264 | - |
dc.description | Master of Education (M.Ed. (Educational Administration)) | en |
dc.description | การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม. (การบริหารการศึกษา)) | th |
dc.description.abstract | The purpose of this study were to 1) study the state and problems in the management of action plan of secondary school education. 2) compare the state and problems in the management of action plan of secondary school education classified by school sizes. 3) study the suggestions about the management of action plan of secondary school education. The samples were all 346 persons from 59 school. They were selected from school administrators and school teachers and educational personnel in the Secondary Education Service Area Office 36 from 114 administrators , 2,624 teachers, 338 education personnel total 3,076 people. The sample size was determined using the Krejcie and Morgan Table and was selected by means of the simple random sampling. The study instruments were questionnaires with 5 rating scale, 41 items. The study instrument was a questionnaire of the state in the management of action plan with the reliablility value of 0.96 and a questionnaire of the problems in the management of action plan with the reliablility value of 0.99. The data were analyzed using percentage, mean, standard deviation, One-Way Anova, and the Scheffé method for paired comparison. The results of the study were as follows: 1. The state in the management of action plan of secondary school education revealed that the overall and each aspect were at the “high”. And the problems in the management of action plan of secondary school education revealed that the overall aspect was at the “low”. 2) The comparison of the state and problems in the management of action plan of secondary school education classified by school sizes revealed that the overall aspects and each aspect were a statistically significant difference at the .01 levels. 3) The suggestions about the management of action plan of secondary school education were the school should be analyzed and prioritized of problem, the school should be integrate action plans and projects, and the evaluation instruments and the evaluation process should be evaluated in accordance with the objectives and goals. | en |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาสภาพและปัญหาการดำเนินการจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีของโรงเรียนมัธยมศึกษา 2) เพื่อเปรียบเทียบสภาพและปัญหาการดำเนินการจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีของโรงเรียน จำแนกตามขนาดของโรงเรียนมัธยมศึกษา 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะในการดำเนินการจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี ทำการศึกษาจากกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหาร ข้าราชการครู บุคลากรทางการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 36 จาก 59 โรงเรียน จำนวน 346 คน จากผู้บริหาร จำนวน 114 คน ข้าราชการครู จำนวน 2,624 คน บุคลากรทางการศึกษา จำนวน 338 คน รวมทั้งสิ้น 3,076 คน โดยกำหนดกลุ่มตัวอย่างตามตารางของเครจซี่และมอร์แกน ได้มาโดยการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นแบบสอบถามชนิดมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ (Rating Scale) จำนวน 41 ข้อ ด้านสภาพการดำเนินการจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี มีค่าความเชื่อมั่นที่ 0.96 และด้านปัญหาการดำเนินการจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีมีค่าความเชื่อมั่นที่ 0.99 สถิติที่ใช้การวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว (One-Way ANOVA) และเปรียบเทียบรายคู่ โดยใช้วิธีของเชฟเฟ (Scheffe’s) ผลการวิจัย พบว่า 1) สภาพการดำเนินการจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีของโรงเรียนมัธยมศึกษา โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมากทุกด้าน ส่วนปัญหาการดำเนินการจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีของโรงเรียนมัธยมศึกษา โดยรวมอยู่ในระดับน้อย 2) การเปรียบเทียบระดับสภาพและปัญหาการดำเนินการจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีของโรงเรียนมัธยมศึกษา จำแนกตามขนาดของโรงเรียน โดยรวมทุกด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3) ข้อเสนอแนะในการดำเนินการจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีของโรงเรียนมัธยมศึกษา พบว่า สถานศึกษาควรมีการวิเคราะห์ปัญหาและจัดลำดับความสำคัญ มีการบูรณาการแผนงานและโครงการเข้าด้วยกัน และควรมีเครื่องมือและวิธีการประเมินผลให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์และเป้าหมายของแต่ละโครงการ | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | University of Phayao | |
dc.rights | University of Phayao | |
dc.subject | การดำเนินการ | th |
dc.subject | แผนปฏิบัติการประจำปี | th |
dc.subject | management | en |
dc.subject | action plan | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.title | A STUDY OF THE STATE AND PROBLEMS IN THE MANAGEMENT OF ACTION PLAN OF SECONDARY SCHOOL EDUCATION OF THE SECONDARY EDUCATION SERVICE AREA OFFICE 36 | en |
dc.title | การศึกษาสภาพและปัญหาการดำเนินการจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี ของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 36 | th |
dc.type | Independent Study | en |
dc.type | การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง | th |
Appears in Collections: | School of Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
61170342.pdf | 2.95 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.