Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/262
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Lanpat Banchanittayakan | en |
dc.contributor | ลัลน์พัฒน์ บัญชานิตยกาล | th |
dc.contributor.advisor | Natthawut Sabphaso | en |
dc.contributor.advisor | ณัฐวุฒิ สัพโส | th |
dc.contributor.other | University of Phayao. School of Education | en |
dc.date.accessioned | 2021-01-22T06:41:47Z | - |
dc.date.available | 2021-01-22T06:41:47Z | - |
dc.date.issued | 29/6/2020 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/262 | - |
dc.description | Master of Education (M.Ed. (Educational Administration)) | en |
dc.description | การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม. (การบริหารการศึกษา)) | th |
dc.description.abstract | These objectives of independent Study are study the state of senior scout administration in schools under the Office of Secondary Educational Service Area 36 and to compare the efficiency of the general senior scout administration of schools under the Office of Educational Service Area 36.Classified by Scout Qualification, Scout position, Scout work experience And school size .A sample was selected from 148 administrators and teachers manage the senior scouts in schools, all selected by Stratified sampling. The study instrument was the 5 level scale questionairea form the most to the least . The reliability value at 0.99. The statistics used for data analysis were percentage, mean, standard deviation, F-test and One-way Analysis of Variance. The result of study was found. 1. The state of the scout administration of the schools under the Office of Secondary Educational Service Area 36 were at a high level. 2. In comparing the opinion of the opinion of the adminnistrators with different scout qualifications on the states of senior scout administration in schools were not different. When considering in each aspect, administrators with different scout qualifications in had different opinions on Scout administration conditions Supervision, monitoring and evaluation There are statistically significant differences at the .05 level. 3. In comparing the opinion of the adminnistrators with different Scout position on the states of senior scout administration in schools were not different at the significant level of .05 4. In comparing the opinion of the adminnistrators with different Scout work experience on the states of senior scout administration in schools were not different at the significant level of .05 5. In comparing the opinion of the adminnistrators working in different school sizes on the states of senior scout administration in schools were not different at the significant level of .05 | en |
dc.description.abstract | การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพการบริหารงานลูกเสือของโรงเรียน ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 36 และเปรียบเทียบสภาพการบริหารงานลูกเสือสามัญ รุ่นใหญ่ของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 36 จำแนกตาม วุฒิทางลูกเสือ ตำแหน่ง ทางลูกเสือ ประสบการณ์ในการทำงานด้านลูกเสือ และขนาดโรงเรียน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ผู้บริหารและครูที่ทำหน้าที่บริหารงานลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ในโรงเรียน จำนวน 148 คน ใช้วิธีการสุ่มแบบ แบ่งชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ ในการศึกษาเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ที่มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ เท่ากับ .99 สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าสถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบการวิเคราะห์ความ แตกต่างของค่าการกระจายของข้อมูล (F-Test) และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way Analysis of Variance) ผลการศึกษาพบว่า 1. สภาพการบริหารงานลูกเสือของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 36 ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก 2. การเปรียบเทียบความคิดเห็นของผู้บริหารงานลูกเสือที่มีวุฒิทางลูกเสือต่างกัน มีสภาพการบริหาร งานลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 36 โดยรวม ไม่ต่างกันที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05 และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ผู้บริหารงานลูกเสือที่มีวุฒิ ทางลูกเสือต่างกันมีความคิดเห็นต่อ สภาพการบริหารงานลูกเสือ ด้านการกำกับติดตามและประเมินผล มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. การเปรียบเทียบความคิดเห็นของผู้บริหารงานลูกเสือ ที่มีตำแหน่งทางลูกเสือต่างกัน มีสภาพการบริหารงานลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 36 ไม่แตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05 4. การเปรียบเทียบความคิดเห็นของผู้บริหารงานลูกเสือที่มีประสบการณ์การทำงานทางลูกเสือต่างกัน มีสภาพการบริหารงานลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 36 ตาม ไม่แตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05 5. การเปรียบเทียบความคิดเห็นของผู้บริหารงานลูกเสือ ที่ปฏิบัติหน้าที่ในโรงเรียนขนาดต่างกัน มีสภาพการบริหารงานลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 36 ไม่แตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05 | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | University of Phayao | |
dc.rights | University of Phayao | |
dc.subject | การบริหารงานลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ | th |
dc.subject | ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ | th |
dc.subject | senior scout administration | en |
dc.subject | senior scout | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.title | A study of the states of the senior scout administration of schools under the Office of Secondary Educational Service Area 36 | en |
dc.title | การศึกษาสภาพการบริหารงานลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 36 | th |
dc.type | Independent Study | en |
dc.type | การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง | th |
Appears in Collections: | School of Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
61170320.pdf | 2.83 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.