Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/257
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorThachakorn Jabjainaien
dc.contributorธัชกร จับใจนายth
dc.contributor.advisorSanti Buranacharten
dc.contributor.advisorสันติ บูรณะชาติth
dc.contributor.otherUniversity of Phayao. School of Educationen
dc.date.accessioned2021-01-22T06:41:46Z-
dc.date.available2021-01-22T06:41:46Z-
dc.date.issued29/6/2020
dc.identifier.urihttp://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/257-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed. (Educational Administration))en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม. (การบริหารการศึกษา))th
dc.description.abstractThe purposes of this research were: 1) to study the director’s participative management of Sudtinthai secondary school consortium, the secondary service area 36 2) to study the teacher’s motivation in work of Sudtinthai secondary school consortium, the secondary service area 36 and 3) to study the relationship between the director’s participative management and the teacher’s motivation in work of Sudtinthai secondary school consortium, the secondary service area 36. The 205 teacher of Sudtinthai secondary school consortium, the secondary service area 36 were included as a sample. Data was collected by a questionnaire of 5 level to analyze the frequency, the percentage, the standard deviation and Pearson’s product moment correlation, which got the confidence interval at 0.967. The results of this research were as follows: 1) The director’s participative management of Sudtinthai secondary school consortium, the secondary service area 36 was rated at high level in overall, the average was ranking from high to low as follows; the participation in operations, the participation in decision making, the participation in receiving benefits and the participation in evaluation. 2) The teacher’s motivation factors in work of Sudtinthai secondary school consortium, the secondary service area 36 were rated at high level in overall. When we considered each factors; the overall of motivation’s in work were rated in high level; the average ranking from high to low as follows; the achievement  was the highest average and the advancement was the lowest average. The hygiene factors were rated at high level in overall; the average ranking from high to low as follows; the status was the highest average and the personal life was the lowest average. 3) The relationship between the director’s participative management and the teacher’s motivation in work of Sudtinthai secondary school consortium, the secondary service area 36 was statistically significant at 0.01 level, that was positive and the relationship was high level.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพการบริหารแบบมีส่วนร่วมของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนมัธยมศึกษา สหวิทยาเขตสุดถิ่นไทย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 36 2) เพื่อศึกษาแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนมัธยมศึกษา สหวิทยาเขตสุดถิ่นไทย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 36 และ 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารแบบมีส่วนร่วมของผู้บริหารสถานศึกษากับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนมัธยมศึกษา สหวิทยาเขตสุดถิ่นไทย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 36 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ครูโรงเรียนมัธยมศึกษา สหวิทยาเขตสุดถิ่นไทย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 36 จำนวน 205 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามแบบมาตรประมาณค่า 5 ระดับ ซึ่งหาค่าความเชื่อมั่นได้ 0.967 วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการศึกษา พบว่า 1) การบริหารแบบมีส่วนร่วมของผู้บริหารสถานศึกษา สหวิทยาเขตสุดถิ่นไทย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 36 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยได้ ดังนี้ ด้านการมีส่วนร่วมในการดำเนินงาน ด้านการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ ด้านการมีส่วนร่วมในการรับผลประโยชน์ และด้านการมีส่วนร่วมในการประเมินผลตามลำดับ 2) แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนมัธยมศึกษา สหวิทยาเขตสุดถิ่นไทย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 36 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า แรงจูงใจในการปฏิบัติงานด้านปัจจัยจูงใจโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อเรียงค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย พบว่า ด้านความสำเร็จในการทำงานของบุคคลมีค่าเฉลี่ยมากที่สุด และด้านความก้าวหน้ามีค่าเฉลี่ยต่ำสุด ส่วนแรงจูงใจในการปฏิบัติงานด้านปัจจัยค้ำจุนโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อเรียงค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย พบว่า ด้านสถานะทางอาชีพ มีค่าเฉลี่ยสูงสุด และด้านความเป็นส่วนตัว มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด 3) ความสัมพันธ์ของการบริหารแบบมีส่วนร่วมของผู้บริหารสถานศึกษากับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนมัธยมศึกษา สหวิทยาเขตสุดถิ่นไทย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 36 มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 โดยมีค่าความสัมพันธ์ในทางบวก และมีความสัมพันธ์กันในระดับสูงth
dc.language.isoth
dc.publisherUniversity of Phayao
dc.rightsUniversity of Phayao
dc.subjectการบริหารแบบมีส่วนร่วมth
dc.subjectความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของครูth
dc.subjectParticipatory managementen
dc.subjectMotivation in work performance of teachersen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleRELATIONSHIP BETWEEN PARTICIPATORY MANAGEMENT OF SCHOOLPRINCIPALS AND MOTIVATION IN WORK PERFORMANCE OFTEACHERS IN THE SUDTINTHAI SECONDARY SCHOOLCONSORTIUM, THE SECONDARY EDUCATIONALSERVICE AREA 36en
dc.titleความสัมพันธ์ของการบริหารแบบมีส่วนร่วมของผู้บริหารสถานศึกษากับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนมัธยมศึกษาสหวิทยาเขต สุดถิ่นไทย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 36th
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองth
Appears in Collections:School of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61170241.pdf2.07 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.