Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/255
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorDamrong Kareoen
dc.contributorดำรงค์ ก๋าเร็วth
dc.contributor.advisorThidawan Unkongen
dc.contributor.advisorธิดาวัลย์ อุ่นกองth
dc.contributor.otherUniversity of Phayao. School of Educationen
dc.date.accessioned2021-01-22T06:41:46Z-
dc.date.available2021-01-22T06:41:46Z-
dc.date.issued29/6/2020
dc.identifier.urihttp://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/255-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed. (Educational Administration))en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม. (การบริหารการศึกษา))th
dc.description.abstractThe purpose of this study were to 1) study the level of administrative skill of school in education extended school 2) study the level of effectiveness of academic administration in education extended school 3) analyze the relationship between administrative skill of school and effectiveness of academic administration in education extended school. A sample was selected from 297 extended school teachers by random sampling. The study instrument was questionnaires with 5 rating scale by Index of Item Objectives Congruence (IOC) between the question and the content of 0.67-1.00 and by using Alpha Coefficient to get reliability level of 0.97. The statistical treatment used frequencies, percentage, mean, standard deviation, and Pearson correlation. The results of the study were  as follow: 1. The administrative skill of school in education extended school reveals that the overall aspects were at the "high" level. 2. The effectiveness of academic administration in education extended school reveals that the overall aspects were at the "high" level. 3. The relationship between administrative skill and effectiveness of academic administration in education extended school area reveals that the overall aspects were high positive correlation and statistically significant at 0.01 level.en
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา 2) เพื่อศึกษาประสิทธิผลด้านวิชาการของโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา และ 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลด้านวิชาการของโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา ทำการศึกษาจากกลุ่มตัวอย่างครูโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 3 จำนวน 297 คน และใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ โดยหาค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) มีค่า 0.67–1.00 และค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา ได้ค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามทั้งฉบับเท่ากับ 0.97 สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการศึกษาพบว่า 1) ทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก 2) ประสิทธิผลด้านวิชาการของโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก 3) ความสัมพันธ์ระหว่างทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลด้านวิชาการของโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา โดยภาพรวมมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับสูงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ .01th
dc.language.isoth
dc.publisherUniversity of Phayao
dc.rightsUniversity of Phayao
dc.subjectทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาth
dc.subjectประสิทธิผลด้านวิชาการของสถานศึกษาth
dc.subjectAdministrative skill of schoolen
dc.subjectEffectiveness of Academic Administration in Education Extended Schoolen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleTHE RELATIONSHIP BETWEEN ADMINISTRATIVE SKILL OF SCHOOLADMINISTRATORS AND EFFECTIVENESS OF ACADEMICADMINISTRATION IN EDUCATION EXTENDED SCHOOLUNDER CHIANGRAI PRIMARY EDUCATIONSERVICE AREA OFFICE 3en
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลด้านวิชาการของโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 3th
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองth
Appears in Collections:School of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61170229.pdf3.3 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.