Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/244
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorKiettikun Kaewsornen
dc.contributorเกียรติคุณ แก้วสอนth
dc.contributor.advisorThidawan Unkongen
dc.contributor.advisorธิดาวัลย์ อุ่นกองth
dc.contributor.otherUniversity of Phayao. School of Educationen
dc.date.accessioned2021-01-22T06:41:44Z-
dc.date.available2021-01-22T06:41:44Z-
dc.date.issued29/6/2020
dc.identifier.urihttp://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/244-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed. (Educational Administration))en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม. (การบริหารการศึกษา))th
dc.description.abstractThe purpose of this study were to 1) study the state the participation management of the school under Chiang Rai local Administration. 2) compare the participation management of the school under Chiang Rai local Administration classified by school sizes. 3) study the suggestions about the participation management of the school under Chiang Rai local Administration. The samples were school administrators and school teachers. The sample sizes were determined using the Krejcie and Morgan Table and were selected by means of the stratified random sampling. They were all 254 persons. The study instruments were questionnaires with 5 rating scale. The data were analyzed using frequency, percentage, mean, standard deviation, One-Way Anova, and the Scheffé method for paired comparison. The results of the study were as follows: 1. The participation management of the school under Chiang Rai local Administration revealed that the overall and each aspect were at the “high” level and which can be put in the order from high to low as General administration, Academic administration, Personnel administration, and Budget administration. 2. The comparison of the participation management of the school under Chiang Rai local Administration classified by school sizes revealed that the overall and each aspect were a statistically significant difference at the .01 levels. 3. The suggestions about the participation management of the school under Chiang Rai local Administration were the school should support budgets for personnel to improve themselves in relation to academic work and should develop personnel in the area of budget management. It should have human resource management in suitable positions and should divide the proportion of people with the work of each department to suit the workload of each department.en
dc.description.abstractการศึกษาในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพของการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมของสถานศึกษา 2) เพื่อเปรียบเทียบสภาพการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมของสถานศึกษา จำแนกตามขนาดสถานศึกษา และ 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมของสถานศึกษา สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดเชียงราย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา และครูผู้สอนของสถานศึกษา สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดเชียงราย กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง ตามตารางเครจซี่และมอร์แกน โดยใช้วิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้น (Stratified Random Sampling) ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 254 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า (Rating scale) 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว (One-Way ANOVA) และเปรียบเทียบรายคู่ โดยใช้วิธีของเชฟเฟ (Scheffe’s) ผลการวิจัย พบว่า 1) การบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมของสถานศึกษา สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดเชียงราย โดยรวมอยู่ในระดับมาก และรายด้านอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงจากมากไปน้อย ดังนี้ ด้านการบริหารงานทั่วไป ด้านการบริหารงานวิชาการ ด้านการบริหารงานบุคคล และด้านการบริหารงบประมาณ ตามลำดับ 2) การเปรียบเทียบสภาพการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมของสถานศึกษา สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดเชียงราย จำแนกตามขนาดของสถานศึกษา โดยรวมทุกด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ 3) ข้อเสนอแนะการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม มีดังนี้ สถานศึกษาควรสนับสนุนงบประมาณให้บุคลากรไปพัฒนาตนเองเกี่ยวกับงานวิชาการให้มากขึ้น พัฒนาบุคลากรทางการศึกษาในด้านการบริหารงบประมาณให้มากขึ้น สถานศึกษาควรมีการจัดการด้านการบริหารงานบุคคลให้อยู่ในตำแหน่งงานที่เหมาะสม และสถานศึกษาควรแบ่งสัดส่วนบุคคลกับงานของแต่ละฝ่ายให้เหมาะสมกับปริมาณงานของแต่ละฝ่ายth
dc.language.isoth
dc.publisherUniversity of Phayao
dc.rightsUniversity of Phayao
dc.subjectการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมth
dc.subjectองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นth
dc.subjectparticipation managementen
dc.subjectlocal Administrationen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleA STUDY OF THE PARTICIPATION MANAGEMENT OF THE SCHOOLUNDER CHIANG RAI LOCAL ADMINISTRATIONen
dc.titleการศึกษาการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมของสถานศึกษาสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดเชียงรายth
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองth
Appears in Collections:School of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61170106.pdf2.9 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.