Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/235
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorKanokporn Meuntiangen
dc.contributorกนกพร หมื่นเที่ยงth
dc.contributor.advisorThararat Malaitaoen
dc.contributor.advisorธารารัตน์ มาลัยเถาว์th
dc.contributor.otherUniversity of Phayao. School of Educationen
dc.date.accessioned2021-01-22T06:41:43Z-
dc.date.available2021-01-22T06:41:43Z-
dc.date.issued29/6/2020
dc.identifier.urihttp://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/235-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed. (Educational Administration))en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม. (การบริหารการศึกษา))th
dc.description.abstractThis research purpose were 1. to study about the level of school administration. 2. to study the schools effectiveness. 3. to study the relationship between schools administration with schools effectiveness of schools that were moved to be in responsible of local government organization in Chiang Mai. The samples were school teachers and staffs of the school that were moved to be in responsible of local government organization in Chiang Mai for 170 people. The researcher used Stratified Random Sampling by divided into level. The tools for this research collection were 5 level rating scales by finding Alpha Coefficient to get questionnaire reliability equal to 0.98. The statistics that were used in this research were mean, standard deviation, validity, Alpha coefficient and Pearson’ Product Moment Correlation Coefficient. The result showed that: 1. The school administration that were moved to be in responsible of local government organization in Chiang Mai had total and each part results in high level. The school financial administration had the highest level following with academic administration and human resource administration. In addition, the general administration had the lowest level. 2. The school effectiveness that was moved to be in responsible of local government organization in Chiang Mai had was at a high level. The teacher satisfaction score had the highest level following by a goal accomplishment and resource management and the high score of students learning achievement. In addition, the environmental adaptation had the lowest level. 3. The relationship between schools administration with schools effectiveness of schools that were moved to be in responsible of local government organization in Chiang Mai had positive relationship in high level with significant statistic equal to .01 level.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับการบริหารสถานศึกษา เพื่อศึกษาระดับประสิทธิผลของโรงเรียน และเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลของโรงเรียนที่ถ่ายโอนไปสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดเชียงใหม่ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครู และบุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียนที่ถ่ายโอนไปสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในจังหวัดเชียงใหม่ ขนาดกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 170 คน และใช้วิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิ (Stratified Random Sampling) โดยกำหนดการสังกัดเป็นชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามที่มีลักษณะแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ โดยหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาได้ค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามทั้งฉบับได้เท่ากับ 0.98 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าความเที่ยงของเนื้อหา ค่าความเชื่อมั่นสัมประสิทธิ์แอลฟา และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Pearson’ Product Moment Correlation Coefficient) ผลการวิจัย พบว่า 1. การบริหารสถานศึกษาของโรงเรียนที่ถ่ายโอนไปสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดเชียงใหม่ โดยรวมและรายด้าน อยู่ในระดับมาก โดยด้านการบริหารงานงบประมาณ มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมา คือ ด้านการบริหารงานวิชาการ และด้านการบริหารงานบุคคล ตามลำดับ ส่วนด้านการบริหารงานทั่วไปมีค่าเฉลี่ยต่ำสุด 2. ประสิทธิผลของโรงเรียนที่ถ่ายโอนไปสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดเชียงใหม่ โดยรวมและรายด้าน อยู่ในระดับมาก โดยด้านความพึงพอใจในการทำงานของครู มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมา คือ การบรรลุเป้าหมาย และด้านการจัดสรรทรัพยากรที่มีประสิทธิภาพ และด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนสูง ตามลำดับ ส่วนด้านความสามารถในการปรับตัวต่อสภาพแวดล้อมมีค่าเฉลี่ยต่ำสุด 3. ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลของโรงเรียนที่ถ่ายโอนไปสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดเชียงใหม่ โดยรวมมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับสูง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .01th
dc.language.isoth
dc.publisherUniversity of Phayao
dc.rightsUniversity of Phayao
dc.subjectการบริหารสถานศึกษาth
dc.subjectประสิทธิผลของโรงเรียนth
dc.subjectEducational administrationen
dc.subjectschool effectivenessen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleTHE RELATIONSHIP BETWEEN SCHOOL MANAGEMENT AND EFFECTIVENESS OF SCHOOLS TRANSFERRED TO OFFICE OF LOCAL ADMINISTRATIVE ORGANIZATION IN CHIANG MAIen
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลของโรงเรียน ที่ถ่ายโอนไปสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดเชียงใหม่th
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองth
Appears in Collections:School of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61170016.pdf3.5 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.