Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/233
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNetchanok Wichainoen
dc.contributorเนตรชนก วิชัยโนth
dc.contributor.advisorSanit Srikoonen
dc.contributor.advisorศานิตย์ ศรีคุณth
dc.contributor.otherUniversity of Phayao. School of Educationen
dc.date.accessioned2021-01-22T06:41:43Z-
dc.date.available2021-01-22T06:41:43Z-
dc.date.issued29/6/2020
dc.identifier.urihttp://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/233-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed. (Curriculum and Instruction))en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม. (หลักสูตรและการสอน))th
dc.description.abstractThe objective of this research was to compare the average scores of scientific learning outcomes and the average scores of science problem solving between the experimental group and the control group.The population were 98 students who were in Grade 7 students of Pracharatthummakun School, Lampang.The samples were selected by cluster sampling. There were 66 students from two classes divided into 33 students being in the experimental group and 33 students being in the control group. The experimental instruments were the teaching models consisting of the teaching model using problem-based learning integrated with cognitive training and the conventional teaching model. The research instruments for collecting data were 1) the scientific achievement test; 2) the attitude toward science questionnaire; 3) the science process skills test; and 4) the science problem solving test. The statistics using to analyze the data were mean, standard deviation, coefficient of variation, maximum, minimum, skewness, kurtosis and the analysis of One-Way MANOVA. analysis of One-Way ANOVA. The result of this research found that 1. The average scores of scientific learning outcomes composing of scientific achievement, attitude toward science, science process skills of students taught by problem-based learning integrated with cognitive training were higher than the students taught by the conventional teaching model significantly different at the statistical level of 0.05.   2. The average scores of science problem solving of students taught by problem-based learning integrated with cognitive training were higher than the students taught by the conventional teaching model significantly different at the statistical level of 0.05en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยผลการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเปรียบเทียบเฉลี่ยคะแนนการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ ระหว่างนักเรียนกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม โดยใช้แบบแผนการวิจัยเชิงทดลองแบบสองกลุ่มวัดก่อนและหลังทดลอง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนประชารัฐธรรมคุณ จำนวน 66 คน จากประชากรที่เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 98 คน โดยการสุ่มแบบแบ่งกลุ่ม จำนวน 2 ห้องเรียน เข้าเป็นกลุ่มทดลอง 33 คน และกลุ่มควบคุม 33 คน เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง คือ รูปแบบการสอน ได้แก่ รูปแบบการสอนที่ใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับการฝึกเชิงพุทธิปัญญา และรูปแบบการสอนปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ 1) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ 2) แบบวัดเจตคติต่อวิทยาศาสตร์ 3) แบบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 4) แบบทดสอบการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์การกระจาย ค่าต่ำสุด ค่าสูงสุด ความเบ้ ความโด่ง การวิเคราะห์ความแปรปรวนพหุคูณทางเดียวและการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ได้แก่ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เจตคติทางวิทยาศาสตร์ และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ตามรูปแบบการสอนที่ใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับการฝึกเชิงพุทธิปัญญาสูงกว่านักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ตามรูปแบบการสอนปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 2. การแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ตามรูปแบบการสอนที่ใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับการฝึกเชิงพุทธิปัญญาสูงกว่านักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ตามรูปแบบการสอนปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05th
dc.language.isoth
dc.publisherUniversity of Phayao
dc.rightsUniversity of Phayao
dc.subjectรูปแบบการสอนที่ใช้ปัญหาเป็นฐาน, การฝึกเชิงพุทธิปัญญา, ผลการเรียนรู้วิทยาศาสตร์, การแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์th
dc.subjectProblem Based Learning Cognitive training Science learning outcomes Science problem solvingen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleTHE EFFECT OF PROBLEM BASED LEARNING INTEGRATED WITH COGNITIVE TRAINING TO ENHANCE SCIENCE LEARNING OUTCOMES AND SCIENCE PROBLEM SOLVINGen
dc.titleผลการใช้รูปแบบการสอนที่ใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับการฝึกเชิงพุทธิปัญญาที่ส่งผลต่อผลการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์th
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองth
Appears in Collections:School of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60206969.pdf4.29 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.