Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/228
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorKanoknapat Seeharajen
dc.contributorกนกนภัส สีหราชth
dc.contributor.advisorWilaiporn Rittikoopen
dc.contributor.advisorวิไลภรณ์ ฤทธิคุปต์th
dc.contributor.otherUniversity of Phayao. School of Educationen
dc.date.accessioned2021-01-22T06:41:42Z-
dc.date.available2021-01-22T06:41:42Z-
dc.date.issued29/6/2020
dc.identifier.urihttp://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/228-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed. (Curriculum and Instruction))en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม. (หลักสูตรและการสอน))th
dc.description.abstractAim: The purpose of this study was to develop the lesson plan using the project as the foundation to be effective in the standard set. Secondly, this project represents the Mathayom Suksa 4 students’ result before and after using this plan. Another point is student was assessed the vocational skill after learning this subject using project. Finally, it can measure how students satisfy in this subject using this project helping them for learning. Materials and Methods: The people in this study is 15 Mathayom Suksa 4 students from Wiang Chai school, Wiang Chai District, Chiang Rai. This school is in SPM36. The project use measurements such as percentage calculation, Mean and Standard Deviation. The instruments of this research were consisted of 1) four lesson plans in the topic of Food preservation and food processing for 12 hours 2) The assessment from student after learning this subject following the plan 3) a multiple choice test )4) a questionnaire on the satisfaction of learning Food preservation and food processing. The results showed that: 1) Learning achievement on the topic of Food preservation and Food processing got 91.57/86.15 which is higher than standard level (80/80). 2) The mean from a multiple-choice test after studying is 18.07 compare with 12.93 from the test before studying. 3) The percentage of student skill after learning this subject is 94.47% which is higher than the standard percentage (70%). 4) The students’ satisfaction of learning Food preservation and Food process calculating from Standard Deviation (The population mean) = 4.47, (The standard deviation) = 0.34).en
dc.description.abstractการวิจัยเรื่อง การจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐานเพื่อพัฒนาทักษะอาชีพ เรื่อง การถนอมอาหารและการแปรรูปอาหาร สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนเวียงชัยวิทยาคม มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐานเพื่อพัฒนาทักษะอาชีพ เรื่อง การถนอมอาหารและการแปรรูปอาหาร สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนเวียงชัยวิทยาคม ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กำหนด 80/80 (2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 4 ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐานเพื่อพัฒนาทักษะอาชีพ เรื่อง การถนอมอาหารและการแปรรูปอาหาร (3) ประเมินทักษะอาชีพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 หลังได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐานเพื่อพัฒนาทักษะอาชีพ เรื่อง การถนอมอาหารและการแปรรูปอาหาร (4) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่มีต่อการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐานเพื่อพัฒนาทักษะอาชีพ เรื่องการถนอมอาหารและการแปรรูปอาหาร ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนเวียงชัยวิทยาคม อำเภอเวียงชัย จังหวัดเชียงราย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 36 จำนวน 15 คน การศึกษาครั้งนี้ ผู้วิจัยศึกษากลุ่มประชากรเพียงกลุ่มเดียว สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน จำนวน 4 แผน เวลา 12 ชั่วโมง แบบประเมินทักษะอาชีพของนักเรียนหลังได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐานเพื่อพัฒนาทักษะอาชีพ เรื่อง การถนอมอาหารและการแปรรูปอาหาร แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เป็นแบบปรนัยเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวนข้อสอบ 20 ข้อ และแบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียน จำนวน 10 ข้อ ผลการวิจัย พบว่า 1) แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐานเพื่อพัฒนาทักษะอาชีพ เรื่องการถนอมอาหารและการแปรรูปอาหาร สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนเวียงชัยวิทยาคม ที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพเท่ากับ 91.57/86.15 สูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนด 80/80 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่เรียนโดยการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐานเพื่อพัฒนาทักษะอาชีพ เรื่องการถนอมอาหารและการแปรรูปอาหาร มีคะแนนทดสอบหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน โดยมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 18.07 และ 12.93 คะแนน ตามลำดับ 3) ทักษะอาชีพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 หลังได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐานเพื่อพัฒนาทักษะอาชีพ เรื่องการถนอมอาหารและการแปรรูปอาหาร มีค่าเฉลี่ยร้อยละ 94.47 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ คือร้อยละ 70 4) นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐานเพื่อพัฒนาทักษะอาชีพ เรื่องการถนอมอาหารและการแปรรูปอาหาร โดยเฉลี่ยอยู่ในระดับ มาก ( ค่าเฉลี่ย = 4.47, ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 0.34)th
dc.language.isoth
dc.publisherUniversity of Phayao
dc.rightsUniversity of Phayao
dc.subjectกิจกรรมการเรียนรู้th
dc.subjectการจัดการเรียนรู้th
dc.subjectทักษะวิชาชีพth
dc.subjectlearning activitiesen
dc.subjectproject based learningen
dc.subjectprofessional skillsen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titlePROJECT-BASED LEARNING TO DEVELOP PROFESSIONAL SKILLS IN FOOD RESERVATIONND FOOD PROCESSING FOR MATHAYOM SUKSA FOUR STUDENTS,WIANG CHAI WITTHAYAKHOM SCHOOLen
dc.titleการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐานเพื่อพัฒนาทักษะอาชีพเรื่องการถนอมอาหารและแปรรูปอาหาร สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนเวียงชัยวิทยาคมth
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองth
Appears in Collections:School of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60170318.pdf3.49 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.