Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/201
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorKritnatee Boonlomen
dc.contributorกฤษนที บุญล้อมth
dc.contributor.advisorKosol Meekunen
dc.contributor.advisorโกศล มีคุณth
dc.contributor.otherUniversity of Phayao. College of Managementen
dc.date.accessioned2021-01-21T07:21:42Z-
dc.date.available2021-01-21T07:21:42Z-
dc.date.issued29/3/2020
dc.identifier.urihttp://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/201-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed. (Educational Administration))en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม. (การบริหารการศึกษา))th
dc.description.abstractObjectives of this research were to: 1) Study teachers’ life successful of different biosocial teachers, 2) Study the relationship between self- adjustment, innovation adoption and life successful of teachers, and 3) Study the prediction of life successful by self- adjustment and innovation adoption of teachers. Samples of this studied were 150  teachers in Suan Luang District primary schools , Bangkok, academic year 2019, selected by stratified random sampling, The research instruments were 3 summated rating scales, for measuring  3  important variables, with Alpha Coefficient reliability (α) .757 to .905. The statistics for analyzing data were descriptive and inferential statistics. Statistics for hypothesis testing were independent t-test, Simple Correlation, and Stepwise Multiple Regression Analysis. Research found that: 1) There were significant different of teachers life successful when classify by teachers’ academic status, marital status, and salary. 2)  Self- adjustment and innovation adoption correlated to life successful of teachers at moderate level (r = .644 และ r = .492, p < .01). and 3) Self- adjustment and innovation adoption predicted life successful of teachers for about 46 percent (with β = .455 and .235 respectively, p < .01)en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความสำเร็จในการดำเนินชีวิตของครูเมื่อจำแนกตามลักษณะชีวสังคม 2) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการปรับตัวของครู และการยอมรับนวัตกรรมของครู กับความสำเร็จในการดำเนินชีวิตของครู และ 3) ศึกษาการทำนายความสำเร็จในการดำเนินชีวิตของครูด้วยการปรับตัว ของครูและการยอมรับนวัตกรรมของครู กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาเป็นครูในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขต สวนหลวง กรุงเทพมหานคร ปีการศึกษา 2562 จำนวน 150 คน เลือกโดยการสุ่มแบบแบ่งเป็นชั้นภูมิ (Stratified Random Sampling) เครื่องมือวิจัยเป็นแบบวัดมาตรประมาณรวมค่า ใช้วัดตัวแปรสำคัญ 3 ตัวแปร มีค่าความเที่ยงของคะแนนจากการวัดที่หาโดยวิธีสัมประสิทธิ์แอลฟาตั้งแต่ .757 ถึง .905 สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือ สถิติพื้นฐานและสถิติอ้างอิง สถิติที่ใช้เพื่อทดสอบสมมติฐาน คือ สถิติทดสอบที แบบกลุ่มตัวอย่างเป็นอิสระ ต่อกัน การวิเคราะห์ความสัมพันธ์อย่างง่าย และการวิเคราะห์ถดถอยพหูคูณ ผลการวิจัย 1) ได้พบความแตกต่างของความสำเร็จในการดำเนินชีวิตของครูที่มีตำแหน่งทางวิชาการ สถานภาพสมรส และรายได้ต่างกัน 2) พบว่าการปรับตัว และการยอมรับนวัตกรรม สัมพันธ์กับความสำเร็จในการดำเนินชีวิตของครูในระดับปานกลาง (r = .644 และ r = .492 , p < .01) และ3) พบว่าการปรับตัว และการยอมรับนวัตกรรม ร่วมกันทำนายความสำเร็จในการดำเนินชีวิตของครู ได้ประมาณร้อยละ 46 (β = .455 และ .235, p < .01)th
dc.language.isoth
dc.publisherUniversity of Phayao
dc.rightsUniversity of Phayao
dc.subjectการปรับตัวth
dc.subjectการยอมรับนวัตกรรมth
dc.subjectความสำเร็จในการดำเนินชีวิตth
dc.subjectครูสังกัดกรุงเทพมหานครth
dc.subjectself adjustmenten
dc.subjectinnovation adoptionen
dc.subjectlife successfulen
dc.subjectBangkok primary school teachersen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.titleThe Relationship between the Innovation Adjustment, Acceptance and Success of teachers’ Living in Suan Luang District Primary Schools, Bangkok.en
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างการปรับตัวและการยอมรับนวัตกรรมกับความสำเร็จในการดำเนินชีวิตของครู ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตสวนหลวง กรุงเทพมหานครth
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองth
Appears in Collections:School of Management and Information Sciences

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60160249.pdf1.03 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.