Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/161
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNilobol Raiplongen
dc.contributorนิโลบล ร้ายปล้องth
dc.contributor.advisorSurachet Chiramaneeen
dc.contributor.advisorสุรเชษฐ์ ชิระมณีth
dc.contributor.otherUniversity of Phayao. School of Political and Social Scienceen
dc.date.accessioned2019-12-03T03:02:51Z-
dc.date.available2019-12-03T03:02:51Z-
dc.date.issued24/11/2019
dc.identifier.urihttp://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/161-
dc.descriptionMaster of Public Administration (M.P.A. (Public Policy))en
dc.descriptionรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (รป.ม. (นโยบายสาธารณะ))th
dc.description.abstractThe study entitled "Guidelines for developing the retro market for tourism to achieve sustainability: A Case study of Bang Rachan Retro Market, Khai Bang Rachan District, Sing Buri Province" have two objectives including: (1) to study and compare Thai tourists’ behaviors in the community by demographic data of tourism in the Bang Rachan Retro Market; and (2) to seek ways to develop tourism in the Bang Rachan Retro Market of Khai Bang Rachan District, Sing Buri Province in order to achieve the sustainability. The population used in this study was 100 tourists aged more than 15 years and the data were collected using open-ended and closed-ended questionnaires. The data analysis process included using the descriptive statistics (percentage, mean, and standard deviation) to analyze quantitative data on the computer program, and the statistical significance was set at the level of 0.05. Results of the data analysis indicated that personal characteristics had an effect on the development to achieve the sustainability of the Bang Rachan Retro Market, as the tourists were satisfied with different aspects of the market including products and services, prices, places, and marketing promotion. However, they provided some suggestions for developing the tourism of the Bang Rachan Retro Market, such as adding more spaces to sit and relax, ensuring that the products and services meet the standard, and increasing the product variety. In addition, there were some elements and guidelines for making the Bang Rachan Retro Market to be sustainable. Such included developing the tourism potential, focusing more on products and services, PR , providing facilities for tourists, and conserving Thai culture and natural resources. In addition, the market should open the opportunity for the stakeholders to share opinions and should increase their participation. They should also preserve the local culture is unique to the community, should study both positive and negative effects of the tourism, should have a long- and short-term travel plan, and should create a proactive strategic plan to attract more tourists. According to the results received, the suggestion from this study is that there should be mix-method research conducted to get more in-depth information. In addition, the research should include studying other factors that may also affect tourists in order to promote tourism and to use the results to improve the market. More importantly, the research may also seek to gain data from foreign tourists.en
dc.description.abstractการศึกษาเรื่อง แนวทางการศึกษาเพื่อพัฒนาตลาดย้อนยุคเพื่อการท่องเที่ยวให้เกิดความยั่งยืน กรณีศึกษา: ตลาดย้อนยุคบ้านระจัน อำเภอค่ายบางระจัน จังหวัดสิงห์บุรี มีวัตถุประสงค์ 2 ประการ คือ (1) เพื่อศึกษาพฤติกรรมของนักท่องเที่ยวในการท่องเที่ยวตลาดย้อนยุคบ้านระจัน อำเภอค่ายบางระจัน จังหวัดสิงห์บุรี (2) เพื่อศึกษาหาแนวทางพัฒนาการท่องเที่ยวตลาดย้อนยุคบ้านระจัน อำเภอค่ายบางระจัน จังหวัดสิงห์บุรี ให้เกิดความยั่งยืน ประชากรที่ใช้ศึกษาครั้งนี้ได้แก่นักท่องเที่ยวที่มีอายุตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไปแต่เนื่องจากผู้วิจัยไม่ทราบจำนวนประชากรที่แน่นอน ผู้วิจัยจึงกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรคำนวณจากความน่าจะเป็น โดยการใช้สูตรมีเงื่อนไขอยู่ว่า ลักษณะของตัวอย่างจะต้องมีการกระจายแบบโค้งปกติ (normal distribution) และการสุ่มแล้วไม่แทนที่ ได้มาจำนวน 96 คน แต่ผู้วิจัยจะเก็บตัวอย่างเป็นจำนวน 100 คนการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามแบบปลายเปิดและปลายปิด ใช้สถิติเชิงพรรณนาวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณหาค่าสถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูปเพื่อใช้ในการวิเคราะห์ โดยกำหนดระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ผลการศึกษาพบว่า ลักษณะส่วนบุคคลมีผลต่อแนวทางการพัฒนาตลาดย้อนยุคบ้านระจันให้เกิดความยั่งยืน โดยนักท่องเที่ยวมีความพึงพอใจในด้านสินค้าและบริการ ด้านราคา ด้านสถานที่จัดจำหน่าย และการส่งเสริมการตลาด โดยมีข้อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวตลาดย้อนยุคบ้านระจัน คือต้องการให้เพิ่มสถานที่นั่งพักผ่อน ตรวจสอบสินค้าและบริการให้ได้มาตรฐาน และเพิ่มความหลากหลายของสินค้าให้มากขึ้น องค์ประกอบหลักและแนวทางที่จะทำให้การท่องเที่ยวตลาดย้อนยุคบ้านระจันให้เกิดความยั่งยืนคือ การพัฒนาศักยภาพทางการท่องเที่ยว การมุ่งเน้นที่สินค้าและการบริการ การประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยว มีสิ่งอำนวยความสะดวกให้กับนักท่องเที่ยว ควบคู่กับการอนุรักษ์ความเป็นไทยและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ รวมถึงการเปิดโอกาสรับฟังความคิดเห็นของผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสีย เพิ่มการมีส่วนร่วมมากขึ้น ตลอดจนรักษาวัฒนธรรมท้องถิ่นอันเป็นเอกลักษณ์ของชุมชน มีการศึกษาผลกระทบทั้งเชิงบวกและเชิงลบ มีการวางแผนการท่องเที่ยวระยะยาวและระยะสั้น และจัดทำ  แผนกลยุทธ์เชิงรุก ข้อเสนอแนะจากการศึกษาคือ ควรทำการวิจัยแบบผสมผสานเพื่อให้ได้ข้อมูลในเชิงลึกมากยิ่งขึ้น ควรศึกษาถึงปัจจัยทางด้านอื่น ๆ ที่มีผลต่อนักท่องเที่ยว และควรมีการเก็บข้อมูลจากนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติด้วยth
dc.language.isoth
dc.publisherUniversity of Phayao
dc.rightsUniversity of Phayao
dc.subjectการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนth
dc.subjectตลาดย้อนยุคth
dc.subjectsustainable tourismen
dc.subjectretro marketsen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleGUIDELINES FOR DEVELOPING THE RETRO MARKET FOR TOURISM TO ACHIEVE  SUSTAINABILITY: A CASE STUDY OF BANRACHAN RETRO MARKET KHAIBANGRACHAN DISTRICT SINGBURI PROVINCE.en
dc.titleแนวทางการพัฒนาตลาดย้อนยุคเพื่อการท่องเที่ยวให้เกิดความยั่งยืน กรณีศึกษา: ตลาดย้อนยุคบ้านระจัน อำเภอค่ายบางระจัน จังหวัดสิงห์บุรีth
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองth
Appears in Collections:School of Political and Social Science

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60213495.pdf1.35 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.