Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/151
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSuwet Otharen
dc.contributorสุเวช โอ้ทาth
dc.contributor.advisorSupattra Wannasubchaeen
dc.contributor.advisorสุพัตรา วรรณสืบเชื้อth
dc.contributor.otherUniversity of Phayao. School of Political and Social Scienceen
dc.date.accessioned2019-12-03T03:02:50Z-
dc.date.available2019-12-03T03:02:50Z-
dc.date.issued6/8/2018
dc.identifier.urihttp://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/151-
dc.descriptionMaster of Public Administration (M.P.A. (Public Policy))en
dc.descriptionรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (รป.ม. (นโยบายสาธารณะ))th
dc.description.abstractNeeds assessment of women prisoner training under the training policy for rehabilitaition by the Department of Corrections: Phayao Provincial Prison. The purpose of study are to study needs of occupational-training for women prisoners and find out affected demand factors for occupational training. Study on quantitative research methodology, 171 samples of convicted women prisoners, analyses data with descriptive statistical such as frequency, percentage, mean and standard deviation. The results are showed that average age as samples are 26-40 years old (57.89%), mostly education level in elementary, average income is 5001-10,000 baht per month and mostly are the first time of punishment in cases of narcotic. they were convinced to training by prisoners officer about 56.70%, the most interesting job is beauty salon training skill, seconded is Thai massage. The results by Chi-Squarethe test are the internal factors are unaffecting to needs assessment of women prisoner training as education 0.366, offenses 0.360, Earnings before Penalty 0.244. The external factors also unaffecting to needs assessment of women prisoners training as partner case or family or friend 0.709, training dividend 0.251. The issues of include vocational training does not fit in the labor market, trainer are not qualified, the reward from their productions very low income and not good enough to incentive them and other issues related to vocational training of women prisoners are the congestion of numbers of prisoners.en
dc.description.abstractการสำรวจความต้องการฝึกวิชาชีพผู้ต้องขังหญิงตามนโยบายการพัฒนาพฤตินิสัยด้านการฝึกวิชาชีพของกรมราชทัณฑ์ กรณีศึกษาเรือนจำจังหวัดพะเยา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความต้องการในการฝึกวิชาชีพ  และปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการในด้านการฝึกวิชาชีพของผู้ต้องขังหญิงเรือนจำจังหวัดพะเยา ศึกษาโดยวิธีเชิงปริมาณในกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้ต้องขังหญิงเรือนจำจังหวัดพะเยาที่เป็นนักโทษเด็ดขาด จำนวน 171 คน ใช้การวิเคราะห์ข้อมูลร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่า ผู้ต้องขังหญิงมีอายุระหว่าง 26-40 ปี ร้อยละ 57.89 การศึกษาระดับประถมศึกษา ก่อนต้องโทษมีอาชีพรับจ้างทั่วไป รายได้ก่อนต้องโทษส่วนใหญ่อยู่ที่ 5,001-10,000 บาทต่อเดือน กระทำความผิดในคดียาเสพติด และเป็นการต้องโทษครั้งแรก เข้ารับการฝึกวิชาชีพตามความเห็นของเจ้าหน้าที่ ร้อยละ 56.70 ทักษะอาชีพที่ต้องการฝึกอบรมมากที่สุด คือ เสริมสวย รองลงมา คือ นวดไทย การทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปรที่มีผลต่อความต้องการ (ไคสแควร์) ปัจจัยภายในไม่มีระดับนัยสำคัญต่อความต้องการฝึกวิชาชีพของผู้ต้องขังหญิง คือ ระดับการศึกษา 0.366 ลักษณะความผิด 0.360 รายได้ก่อนต้องโทษ 0.244 และปัจจัยภายนอกไม่มีนัยสำคัญต่อความต้องการฝึกวิชาชีพของผู้ต้องขังหญิง ได้แก่ คู่คดี ครอบครัว/เพื่อนผู้ต้องขัง 0.709 รายได้/ผลตอบแทนจากการฝึกวิชาชีพ 0.251 ปัญหาที่พบ ได้แก่ วิชาชีพที่ฝึกไม่ตรงกับตลาดแรงงาน จำนวนวิทยากรไม่เพียงพอ เงินรางวัลปันผลจากการทำผลิตภัณฑ์ได้น้อยจนไม่เป็นสิ่งจูงใจที่ดีพอ และปัญหาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการฝึกวิชาชีพของผู้ต้องขังหญิง คือ ความแออัดของผู้ต้องขังth
dc.language.isoth
dc.publisherUniversity of Phayao
dc.rightsUniversity of Phayao
dc.subjectความต้องการฝึกวิชาชีพ, นักโทษหญิง, เรือนจำจังหวัดพะเยาth
dc.subjectTrainning needs Convicted women prisoners Phayao Provincial Prisonen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleNeeds assessment of women prisoner training under the training policy for rehabilitation by the Department of Corrections: Phayao Provincial Prisonen
dc.titleการสำรวจความต้องการฝึกวิชาชีพผู้ต้องขังตามนโยบายการพัฒนาพฤตินิสัยด้านการฝึกวิชาชีพของกรมราชทัณฑ์: กรณีศึกษาเรือนจำจังหวัดพะเยาth
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองth
Appears in Collections:School of Political and Social Science

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
59214236.pdf1.75 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.