Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/149
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPhoomchai Kalaithongen
dc.contributorภูมิชาย กาไหล่ทองth
dc.contributor.advisorSurachet Chiramaneeen
dc.contributor.advisorสุรเชษฐ์ ชิระมณีth
dc.contributor.otherUniversity of Phayao. School of Political and Social Scienceen
dc.date.accessioned2019-12-03T03:02:50Z-
dc.date.available2019-12-03T03:02:50Z-
dc.date.issued6/8/2018
dc.identifier.urihttp://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/149-
dc.descriptionMaster of Public Administration (M.P.A. (Public Policy))en
dc.descriptionรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (รป.ม. (นโยบายสาธารณะ))th
dc.description.abstractThe objectives of this research were to study The Study of appropriate management and study guidelines management of food market area. case study of Lanmuanjai Nong Ra Bu, Wiang Sub-District, Phayao Province.The sample that used in research was all of food sellers at Lanmuanjai Nong ra Bu, Wiang Sub-District, Phayao Province.The quantitative instruments used in collecting data were questionnaires. The statistical procedures used in analyzing data were percentage, mean standard deviation and  content Analysis were used to describe the data. Research result found that, tourism policies The performance after the food sellers moved to new food market at Lanmuanjai Nong ra Bu, Wiang Sub-District, Phayao Province. affected the number of increased customers, Increased revenue. Most respondents ascribed that the street foods were near tourist attraction, GWAAN PHA-YAO, that cause increased customers and increased tourist, then Phayao province had often arranged festivals such as fish eating festival, traditional candle lit water and Lychee festival which supported by municipality of Phayao so that the Entrepreneurs incresed income and stimulate the tourism of Phayao District.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเหมาะสมของการจัดพื้นที่ค้าขายอาหาร และเพื่อศึกษา แนวทางในการจัดการพื้นที่ขายอาหาร กรณีศึกษา ลานม่วนใจ๋หนองระบู ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะยา ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้ประกอบการค้าอาหารแผงลอย ลานม่วนใจ๋หนองระบู ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา 50 คน ซึ่งเป็นจำนวนทั้งหมด เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ สถิติที่ใช้ ได้แก่ การแจกแจงความถี่ การหาค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา (Content Analysis) ผลการวิจัย พบว่า ผลการดำเนินการหลังจากที่มีการย้ายพื้นที่จากเดิมไปสู่พื้นที่ใหม่ คือ ลานม่วนใจ๋ หนองระบู ส่งผลให้จำนวนลูกค้าเพิ่มขึ้น รายได้เพิ่มขึ้น โดยผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ให้เหตุผลว่า สถานที่ดังกล่าว ใกล้แหล่งท่องเที่ยว คือ กว๊านพะเยา จึงทำให้มีลูกค้าเพิ่มขึ้นทั้งลูกค้าประจำ และนักท่องเที่ยว อีกทั้งจังหวัดพะเยา มีการจัดงานเทศกาลบ่อยครั้ง เช่น เทศกาลกินปลา เวียนเทียนกลางน้ำ งานลิ้นจี่ ที่สนับสนุนโดยเทศบาลเมืองพะเยา ซึ่งถือว่าเป็นการกระตุ้นการท่องเที่ยวของจังหวัดพะเยาth
dc.language.isoth
dc.publisherUniversity of Phayao
dc.rightsUniversity of Phayao
dc.subjectผู้ประกอบการค้าอาหารแผงลอยth
dc.subjectอาหารแผงลอยth
dc.subjectEntrepreneursen
dc.subjectStreet foodsen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleTHE STUDY OF APPROPRIATE MANAGEMENT OF FOOD MARKETS AREA: CASE STUDY OF LANMUANJAI NONG RA BU, WIANG SUB-DISTRICT, MUANG DISTRICT, PHAYAO PROVINCEen
dc.titleการศึกษาความเหมาะสมของการจัดพื้นที่ค้าขายอาหาร: กรณีศึกษา ลานม่วนใจ๋หนองระบู ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยาth
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองth
Appears in Collections:School of Political and Social Science

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
59214214.pdf812.74 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.