Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/1176
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Kamol Utuporn | en |
dc.contributor | กมล อุตุภรณ์ | th |
dc.contributor.advisor | Nathiya Kreetachat | en |
dc.contributor.advisor | เนทิยา กรีธาชาติ | th |
dc.contributor.other | University of Phayao | en |
dc.date.accessioned | 2024-10-10T12:43:51Z | - |
dc.date.available | 2024-10-10T12:43:51Z | - |
dc.date.created | 2020 | |
dc.date.issued | 29/3/2020 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/1176 | - |
dc.description.abstract | This research focuses on study of waste management practices for Pa Ngae Sub-district Municipality, Pa Daet, Chiang Rai Province. The amount and composition of solid waste, and current situation of waste management were studied in February 2018 to investigate the appropriate waste management guidelines for studied site. From the surveyed results, Pa Ngae Subdistrict Municipality, Pa Daet District, Chiang Rai Province produced solid waste 1.30 tons per day with the generation rate of 0.17 kilograms of solid waste per capita per day. This study also investigated the appropriate waste management guidelines from 3 approaches by using material flow analysis (MFA). Approach 1 (separation of recycle and hazardous wastes, production of the refuse derived fuel (RDF) by mechanical biological treatment (MBT), and sanitary landfill for the remaining waste) could reduce 82.92% (1.08 tons per day) of waste to landfill and increase 81.54% (1.06 tons per day) of waste for utilization as alternative energy and recycling materials. Approach 2 (separation of recycle and hazardous wastes, windrow composting, and sanitary landfill for the remaining waste) could reduce 54.46% (0.71 tons per day) of waste to landfill and increase 53.08% (0.69 tons per day) of waste for utilization as fertilizer and recycling materials. Finally, approach 3 (separation of recycle and hazardous wastes, and sanitary landfill for the remaining waste) could reduce 16.62% (0.22 tons per day) of waste to landfill and increase 15.23% (0.20 tons per day) of waste for utilization as only recycling materials. Furthermore, the appropriate approach was discussed by comparison with the criteria of the Pollution Control Department (PCD) including waste reduction and waste utilization. It was found that approach 1 was the proper method for solid waste management in case of Pa Ngae Subdistrict Municipality, Pa Daet District, Chiang Rai Province. | en |
dc.description.abstract | การศึกษาวิจัยนี้เป็นการศึกษาแนวทางการจัดการมูลฝอยของเทศบาลตำบลป่าแงะ อำเภอป่าแดด จังหวัดเชียงราย โดยทำการสำรวจข้อมูลปริมาณและองค์ประกอบของมูลฝอย รวมถึงสถานการณ์การจัดการมูลฝอยในปัจจุบัน เพื่อนำมาวิเคราะห์แนวทางที่เหมาะสมในการจัดการมูลฝอย จากการศึกษาข้อมูลในเดือนกุมภาพันธ์ 2561 พบว่า ปริมาณมูลฝอยที่เกิดขึ้นของเทศบาลตำบลป่าแงะ อำเภอป่าแดด จังหวัดเชียงราย เท่ากับ 1.30 ตันต่อวัน คิดเป็นอัตราการเกิดมูลฝอย 0.17 กิโลกรัมต่อคนต่อวัน ทั้งนี้ทำการจำลองแนวทางการจัดการมูลฝอย 3 แนวทาง ด้วยหลักการวิเคราะห์การไหลของวัสดุ เพื่อหาวิธีการจัดการมูลฝอยที่เหมาะสมในอนาคต โดยแนวทางที่ 1 คัดแยกมูลฝอยรีไซเคิล คัดแยกมูลฝอยอันตราย ผลิตเชื้อเพลิงจากมูลฝอย (RDF) ด้วยระบบเชิงกลชีวภาพ (MBT) มูลฝอยที่เหลือนำไปฝังกลบแบบถูกหลักสุขาภิบาล (Sanitary Landfill) สามารถลดปริมาณมูลฝอยที่เข้าสู่หลุมฝังกลบได้ ร้อยละ 82.92 (1.08 ตันต่อวัน) และนำมูลฝอยไปใช้ประโยชน์ได้ ร้อยละ 81.54 (1.06 ตันต่อวัน) แนวทางที่ 2 คัดแยกมูลฝอยรีไซเคิล คัดแยกมูลฝอยอันตราย หมักปุ๋ยจากมูลฝอยอินทรีย์ (Windrow Composting) มูลฝอยที่เหลือนำไปฝังกลบแบบถูกหลักสุขาภิบาล (Sanitary Landfill) สามารถลดปริมาณมูลฝอยที่เข้าสู่หลุมฝังกลบได้ ร้อยละ 54.46 (0.71 ตันต่อวัน) และนำมูลฝอยไปใช้ประโยชน์ได้ ร้อยละ 53.08 (0.69 ตันต่อวัน) และแนวทางที่ 3 คัดแยกมูลฝอยรีไซเคิล คัดแยกมูลฝอยอันตราย มูลฝอยที่เหลือนำไปฝังกลบแบบถูกหลักสุขาภิบาลกึ่งใช้อากาศ (Semi-Aerobic Landfill) สามารถลดปริมาณมูลฝอยที่เข้าสู่หลุมฝังกลบได้ ร้อยละ 16.62 (0.22 ตันต่อวัน) และนำมูลฝอยไปใช้ประโยชน์ได้ ร้อยละ 15.23 (0.20 ตันต่อวัน) จากนั้นพิจารณาแนวทางจัดการมูลฝอยที่เหมาะสม โดยใช้เกณฑ์ของกรมควบคุมมลพิษด้านการลดปริมาณมูลฝอยเข้าหลุมฝังกลบ และการนำมูลฝอยไปใช้ประโยชน์ พบว่า แนวทางที่ 1 คัดแยกมูลฝอยรีไซเคิล คัดแยกมูลฝอยอันตราย ผลิตเชื้อเพลิงจากมูลฝอย (RDF) ด้วยระบบเชิงกลชีวภาพ (MBT) มูลฝอยที่เหลือนำไปฝังกลบแบบถูกหลักสุขาภิบาล (Sanitary Landfill) มีความเหมาะสมสำหรับการจัดการมูลฝอยของเทศบาลตำบลป่าแงะ อำเภอป่าแดด จังหวัดเชียงราย เนื่องจากเป็นแนวทางที่มีปริมาณมูลฝอยเข้าหลุมฝังกลบน้อยที่สุด และนำมูลฝอยไปใช้ประโยชน์ได้มากที่สุด | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | University of Phayao | |
dc.rights | University of Phayao | |
dc.subject | การจัดการมูลฝอย, มูลฝอยชุมชน, การวิเคราะห์การไหลของวัสดุ | th |
dc.subject | Solid Waste Management Municipal Solid Waste Material Flow Analysis | en |
dc.subject.classification | Environmental Science | en |
dc.subject.classification | Water supply; sewerage, waste management and remediation activities | en |
dc.subject.classification | Earth science | en |
dc.title | ANALYSIS OF SOLID WASTE MANAGEMENT GUIDELINES FOR PA NGAE SUBDISTRICT MUNICIPALITY, PA DAET DISTRICT, CHIANG RAI PROVINCE BY MATERIAL FLOW ANALYSIS | en |
dc.title | การวิเคราะห์แนวทางการจัดการมูลฝอยของเทศบาลตำบลป่าแงะ อำเภอป่าแดด จังหวัดเชียงราย ด้วยหลักการวิเคราะห์การไหลของวัสดุ | th |
dc.type | Independent Study | en |
dc.type | การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง | th |
dc.contributor.coadvisor | Nathiya Kreetachat | en |
dc.contributor.coadvisor | เนทิยา กรีธาชาติ | th |
dc.contributor.emailadvisor | nathiya.kr@up.ac.th | |
dc.contributor.emailcoadvisor | nathiya.kr@up.ac.th | |
dc.description.degreename | Master of Engineering (M.Eng. (Environmental Engineering)) | en |
dc.description.degreename | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วศ.ม. (วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม)) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | Environmental Engineering | en |
dc.description.degreediscipline | วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม | th |
Appears in Collections: | School of Energy and Environment |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
59170574.pdf | 4 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.