Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/1126
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Jaruwan Poshyananda | en |
dc.contributor | จารุวรรณ โปษยานนท์ | th |
dc.contributor.advisor | Warach Madhyamapurush | en |
dc.contributor.advisor | วารัชต์ มัธยมบุรุษ | th |
dc.contributor.other | University of Phayao | en |
dc.date.accessioned | 2024-10-10T12:41:47Z | - |
dc.date.available | 2024-10-10T12:41:47Z | - |
dc.date.created | 2023 | |
dc.date.issued | 29/5/2023 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/1126 | - |
dc.description.abstract | This research aims to study and evaluate the cultural resource potential in the archaeological and historical sites in the Ing River Basin, Phayao Province, survey tourists’ behavior and expectation in cultural tourism, as well as propose the management guideline for cultural-based tourism in the archaeological and historical sites in the Ing River Basin. To accomplish the research aims, this research has been conducted by archaeological and historical site surveying, interviewing with related agencies in Phayao’s tourism development policy-maker and the tourism developers, and a questionnaire survey of 400 tourists. The collated data is used for SWOT and TOWS matrix analysis. Finally, the guideline for the management of cultural-based tourism in the Ing River Basin, Phayao Province is established. This finding reveals that the capacity for tourism ranked the highest potential of archaeological and historical sites in the Ing River Basin, Phayao Province. This finding differs from the previous study conducted on the national heritage and historical sites which reveals the attractiveness of heritage and historical sites ranked the highest potential. In terms of management, natural disaster, and asset safety management are considered the most expected issues for tourists. Also, the finding highlights that pleasant and enjoyable experiences are considered the most desired experience for tourists. Furthermore, this the ideal approach for the management of archaeological and historical sites in the Ing River Basin, Phayao Province, and this approach corresponds with the Province’s 2023- 2028 Strategic Plan | en |
dc.description.abstract | การศึกษาวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาและประเมินศักยภาพทรัพยากรวัฒนธรรมในแหล่งโบราณคดีและประวัติศาสตร์บริเวณลุ่มน้ำอิงในจังหวัดพะเยา เพื่อศึกษาพฤติกรรมและความคาดหวังของนักท่องเที่ยวต่อแหล่งโบราณคดีและประวัติศาสตร์บริเวณลุ่มน้ำอิงในจังหวัดพะเยา และเสนอรูปแบบการจัดการของการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในแหล่งโบราณคดีและประวัติศาสตร์บริเวณลุ่มน้ำอิงในจังหวัดพะเยา โดยมีการศึกษาข้อมูลศักยภาพทรัพยากรวัฒนธรรมในแหล่งโบราณคดีและประวัติศาสตร์บริเวณลุ่มน้ำอิงในจังหวัดพะเยา โดยการลงพื้นที่สำรวจและการสัมภาษณ์ ตัวแทนหน่วยงานที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับนโยบายการพัฒนาด้านการท่องเที่ยวของจังหวัดพะเยา และผู้ที่มีประสบการณ์ด้านการบริหารจัดการและพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม มีการเก็บแบบสอบถามนักท่องเที่ยวที่เข้ามาท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในจังหวัดพะเยา จำนวน 400 คน และจัดเวทีสนทนากลุ่มย่อยผู้ที่หน้าที่เกี่ยวข้องกับนโยบายการพัฒนาด้านการท่องเที่ยวของจังหวัดพะเยา เพื่อให้ได้รูปแบบการจัดการของการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในแหล่งโบราณคดีและประวัติศาสตร์บริเวณลุ่มน้ำอิงในจังหวัดพะเยา ผลการศึกษาวิจัยพบว่า การศึกษาศักยภาพของแหล่งโบราณคดีและประวัติศาสตร์บริเวณลุ่มน้ำอิงในจังหวัดพะเยา ซึ่งเป็นเมืองรองและมีความสำคัญในระดับภูมิภาค ที่มีศักยภาพในการรองรับด้านการท่องเที่ยวสูงที่สุด มีความแตกต่างจากงานวิจัยที่ศึกษาศักยภาพของแหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์และโบราณคดีที่ได้รับการยกย่องให้เป็นมรดกทางวัฒนธรรมในระดับชาติ จะมีด้านศักยภาพในการดึงดูดใจนักท่องเที่ยวสูงที่สุด ด้านความคาดหวังต่อการจัดการแหล่งแหล่งโบราณคดีและประวัติศาสตร์บริเวณลุ่มน้ำอิงในจังหวัดพะเยา พบว่า นักท่องเที่ยวมีความคาดหวังด้านความปลอดภัยของแหล่งท่องเที่ยวมากที่สุด ทั้งด้านความปลอดภัยจากภัยธรรมชาติและความปลอดภัยในทรัพย์สิน ด้านประสบการณ์ของนักท่องเที่ยวที่ต้องการได้รับจากการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในแหล่งโบราณคดีและประวัติศาสตร์ พบว่านักท่องเที่ยวต้องการได้รับประสบการณ์ด้านอารมณ์ รู้สึกมีความสุข ความสนุก เพลิดเพลินท่องเที่ยวในแหล่งโบราณคดี มากที่สุด และพบว่า รูปแบบที่เหมาะสมการจัดการของการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในแหล่งโบราณคดีและประวัติศาสตร์บริเวณลุ่มน้ำอิงในจังหวัดพะเยา ภายใต้แนวคิดการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ ซึ่งสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ของจังหวัดพะเยา พ.ศ. 2566-2571 | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | University of Phayao | |
dc.rights | University of Phayao | |
dc.subject | แนวทางการจัดการการท่องเที่ยว | th |
dc.subject | การจัดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม | th |
dc.subject | Tourism management approaches | en |
dc.subject | cultural-based tourism management | en |
dc.subject.classification | Arts and Humanities | en |
dc.subject.classification | Arts, entertainment and recreation | en |
dc.subject.classification | History and archaeology | en |
dc.title | Cultural Tourism Management Model of Archaeological and Historical Site in ING River Basin of Phayao Province. | en |
dc.title | รูปแบบการจัดการการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในแหล่งโบราณคดีและประวัติศาสตร์บริเวณลุ่มน้ำอิงในจังหวัดพะเยา | th |
dc.type | Dissertation | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
dc.contributor.coadvisor | Warach Madhyamapurush | en |
dc.contributor.coadvisor | วารัชต์ มัธยมบุรุษ | th |
dc.contributor.emailadvisor | warach.ma@up.ac.th | |
dc.contributor.emailcoadvisor | warach.ma@up.ac.th | |
dc.description.degreename | Doctor of philosophy (Ph.D. (Tourism Management)) | en |
dc.description.degreename | ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด. (การจัดการการท่องเที่ยว)) | th |
dc.description.degreelevel | Doctoral Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาเอก | th |
dc.description.degreediscipline | Tourism Management | en |
dc.description.degreediscipline | การจัดการการท่องเที่ยว | th |
Appears in Collections: | School of Business and Communication Arts |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
58370238.pdf | 4.65 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.