Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/1122
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSirichai Tewilaen
dc.contributorศิริชัย เทวิละth
dc.contributor.advisorPrachuab Lamluken
dc.contributor.advisorประจวบ แหลมหลักth
dc.contributor.otherUniversity of Phayaoen
dc.date.accessioned2024-10-10T12:38:51Z-
dc.date.available2024-10-10T12:38:51Z-
dc.date.created2024
dc.date.issued15/10/2024
dc.identifier.urihttp://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/1122-
dc.description.abstractThe effective use of the LINE application to enhance health knowledge depends on several factors. This study is divided into two phases. Phase 1 is a cross-sectional study aimed at investigating factors related to health knowledge regarding COVID-19 using the LINE application among community health volunteers in Chiang Kham District, Phayao Province. Data were collected via questionnaires from a sample of 342 individuals. Data analysis was conducted using Chi-square statistics and Pearson's correlation coefficient. Phase 2 is a quasi-experimental research study to evaluate the impact of a LINE group communication program on developing health knowledge about COVID-19 among community health volunteers in Chiang Kham District, Phayao Province. The study involved two groups: an experimental group and a comparative group, each comprising 36 participants. The study spanned 6 weeks, and data were analyzed using Paired samples t-test and Independent t-test. In Phase 1 of the study, it was found that overall, the command and assignment system of Village Health Volunteer was rated high. Health literacy regarding COVID-19 through the LINE application was also rated high. It was observed that education level and smartphone usage data within Village Health Volunteer, as well as the command and assignment systems, were significantly correlated with health literacy regarding COVID-19 through LINE group communication (pen
dc.description.abstractการใช้แอปพลิเคชันไลน์ในการสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพให้มีประสิทธิภาพ ขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย การศึกษาในครั้งนี้แบ่งเป็น 2 ระยะ โดยระยะที่ 1 เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความรอบรู้ด้านสุขภาพเรื่องโรคโควิด-19 โดยการใช้แอปพลิเคชันไลน์ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ในเขตพื้นที่อำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยา เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม จากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 342 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนาไค-สแควร์ และสหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และระยะที่ 2 เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง (Quasi-Experimental Research) ศึกษาผลของโปรแกรมการสื่อสารผ่านกลุ่มไลน์ในการพัฒนาความรอบรู้ ด้านสุขภาพ เรื่องโรคโควิด-19 ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ในพื้นที่อำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยา ทำการทดลอง 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มทดลอง และกลุ่มเปรียบเทียบ กลุ่มละ 36 คน ทำการศึกษา 6 สัปดาห์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ Paired samples t-test และ Independent t-test ผลการศึกษาระยะที่ 1 พบว่า ระบบการสั่งการและมอบหมายงานของ อสม. ภาพรวมอยู่ในระดับสูง ความรอบรู้ด้านสุขภาพเรื่องโรคโควิด-19 โดยการใช้แอพพลิเคชั่นไลน์ อยู่ในระดับสูง และพบว่า ระดับการศึกษาข้อมูลการใช้สมาร์ทโฟนใน อสม. ระบบการสั่งการและมอบหมายงานทุกด้านมีความสัมพันธ์กับความรอบรู้ด้านสุขภาพเรื่องโรคโควิด-19 โดยการสื่อสารผ่านกลุ่มไลน์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p< 0.05) ดังนั้นการควรส่งเสริมให้ อสม.ใช้แอพลิเคชันไลน์มากขึ้น และจัดระบบสั่งการและมอบหมายงานให้มีประสิทธิภาพจะทำให้ อสม.มีความรอบรู้ทางสุขภาพที่ดีขึ้น ในระยะที่ 2 ความรอบรู้ ด้านสุขภาพเรื่องโรคโควิด-19 โดยการใช้แอพพลิเคชั่นไลน์ ในภาพรวมและรายด้านแต่ละด้าน พบว่า กลุ่มเปรียบเทียบ อยู่ในระดับกลาง ส่วนในกลุ่มทดลอง พบว่า ทุกกลุ่มอยู่ในระดับสูง เมื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยก่อนหลังได้รับโปรแกรมของกลุ่มทดลอง พบว่า ทั้งภาพรวมและรายด้าน ก่อนและหลังการอบรมแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (pth
dc.language.isoth
dc.publisherUniversity of Phayao
dc.rightsUniversity of Phayao
dc.subjectความรอบรู้ด้านสุขภาพth
dc.subjectโรคโควิด-19th
dc.subjectแอปพลิเคชันไลน์th
dc.subjectอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านth
dc.subjectHealth literacyen
dc.subjectCOVID-19en
dc.subjectLINE applicationen
dc.subjectvillage health volunteersen
dc.subject.classificationHealth Professionsen
dc.subject.classificationAdministrative and support service activitiesen
dc.subject.classificationTraining for teachers with subject specialisationen
dc.titleCOMMUNICATION PROGRAM DEVELOPMENT BY USING APPLICATION LINE GROUP TOWARDS THE HEALTH LITERACY IN COVID-19 OF VILLAGE HEALTH VOLUNTEERS IN CHIANG KHAM DISTRICT, PHAYAO PROVINCEen
dc.titleการพัฒนาโปรแกรมการสื่อสารผ่านกลุ่มไลน์ ต่อความรอบรู้ด้านสุขภาพ เรื่องโรคโควิด-19 ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ในเขตพื้นที่อำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยาth
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองth
dc.contributor.coadvisorPrachuab Lamluken
dc.contributor.coadvisorประจวบ แหลมหลักth
dc.contributor.emailadvisorprachuab.la@up.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisorprachuab.la@up.ac.th
dc.description.degreenameMaster of Public Health (M.P.H.)en
dc.description.degreenameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (ส.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineen
dc.description.degreedisciplineth
Appears in Collections:คณะสาธารณสุขศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
64224558.pdf2.41 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.