Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/1107
Title: The Development of Learning Activities Using Design Thinking Process and Buddhist Art in the Community to Enhance Packaging Design Ability for Grade 4 Students of Ban Jambon School
การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการคิดเชิงออกแบบร่วมกับการใช้แหล่งพุทธศิลป์ในชุมชนเพื่อพัฒนาความสามารถในการออกแบบ บรรจุภัณฑ์ของนักเรียนประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านจำบอน
Authors: Nantatip Kantawang
นันทาทิพย์ กันทะวัง
Wasan Sapphasuk
วสันต์ สรรพสุข
University of Phayao
Wasan Sapphasuk
วสันต์ สรรพสุข
wasan.sa@up.ac.th
wasan.sa@up.ac.th
Keywords: กระบวนการคิดเชิงออกแบบ
แหล่งพุทธศิลป์ในชุมชน
การออกแบบบรรจุภัณฑ์
Design thinking Engineering
Buddhist art
Packaging
Issue Date:  15
Publisher: University of Phayao
Abstract: The objectives of this research were: 1) Develop learning activities using the design thinking process with Buddhist art resources in the community to enhance  packaging design abilities for students in grades 4, and 2) To study the outcomes of these  learning activities. This quasi-experimental research involved 20 students in grade 4 at Ban Jambon School, studying in the 2nd semester of academic year 2023, selected through purposive sampling. The research tools included lesson plans, pre- and post- tests on packaging design, and a packaging design skills assessment form. Data analysis comprised descriptive statistics such as percentage, mean, standard deviation, and dependent sample t-tests. Research results found that: 1) Learning activities using the design thinking process with Buddhist art resources in the community to develop packaging design abilities were highly  appropriate  (mean =4.72, S.D. = 0.06) and 2) Post-test scores in packaging design were higher than those of the pre-test scores, with a statistical significance of 0.05. The skills obtained from the design thinking process learning activities facilitated students in understanding the packaging usage problems, analysis of such problems, brainstorming solutions, creating prototypes, and testing packaging models. The result was a significant improvement of skills in every aspect.
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการคิดเชิงออกแบบร่วมกับการใช้แหล่งพุทธศิลป์ในชุมชนเพื่อพัฒนาความสามารถในการออกแบบบรรจุภัณฑ์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 และ 2) ศึกษาผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการคิดเชิงออกแบบร่วมกับการใช้แหล่งพุทธศิลป์ในชุมชนเพื่อพัฒนาความสามารถในการออกแบบบรรจุภัณฑ์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4  โดยใช้การวิจัยแบบกึ่งทดลอง กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย คือนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านจำบอน ที่กำลังศึกษาในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 20 คน ซึ่งได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ แบบทดสอบความรู้ในการออกแบบบรรจุภัณฑ์ก่อนเรียนและหลังเรียน และแบบประเมินทักษะในการออกแบบบรรจุภัณฑ์ สถิตที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบหาค่าที (t-test dependent sample) ผลการวิจัยพบว่า 1) กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการคิดเชิงออกแบบร่วมกับการใช้แหล่งพุทธศิลป์ในชุมชนเพื่อพัฒนาความสามารถในการออกแบบบรรจุภัณฑ์มีความเหมาะสมในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย = 4.72, ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 0.06) 2) ผลการทดสอบความรู้ในการออกแบบบรรจุภัณฑ์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 และมีทักษะในการออกแบบบรรจุภัณฑ์จากกิจกรรมการเรียนรู้กระบวนการคิดเชิงออกแบบที่ส่งผลให้ผู้เรียนเข้าใจปัญหาการใช้บรรจุภัณฑ์ การวิเคราะห์ปัญหาการใช้บรรจุภัณฑ์ การระดมความคิด สร้างต้นแบบบรรจุภัณฑ์ และทดสอบแบบจำลองบรรจุภัณฑ์ มีทักษะทุกด้านอยู่ในระดับมากขึ้นไป
URI: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/1107
Appears in Collections:School of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
64170772.pdf9.92 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.