Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/1077
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorHathaichanok Wongwisateen
dc.contributorหทัยชนก วงศ์วิเศษth
dc.contributor.advisorSunthon Khlal umen
dc.contributor.advisorสุนทร คล้ายอ่ำth
dc.contributor.otherUniversity of Phayaoen
dc.date.accessioned2024-06-05T15:16:14Z-
dc.date.available2024-06-05T15:16:14Z-
dc.date.created2024
dc.date.issued15/10/2024
dc.identifier.urihttp://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/1077-
dc.description.abstractThe purpose of this research were 1) to study ethical leadership of school administrator in the network group to promote the efficiency of educational management regional special education center 8 special education bureau. 2) Compare the ethical leadership of school administrator in the network group to promote the efficiency of educational management regional special education center 8 special education bureau by classifying educational background and work experience. The sample in this research consisted of 248 people by using Krejcie and Morgan sampling method. The participates were the directors and teachers in the network group to promote the efficiency of educational management regional special education center 8 special education bureau. The statistics is used to analyze data and to find the difference were percentage, mean, standard deviation, T-test independent and one-way analysis of variance (ANOVA). The results of this study were as follows 1) The ethical leadership of school administrator in the network group to promote the efficiency of educational management regional special education center 8 special education bureau was at a high level. The five aspects with the highest and lowest mean were respectability, responsibility, trust, integrity and justice. 2) To compare the result of ethical leadership of school administrator in the network group to promote the efficiency of educational management regional special education center 8 special education bureau by classifying educational background, justice, integrity, trust, responsibility, and respectability. The result were found that both overview and all aspects. There was no significant difference at the .05 level. Including overview and all aspects which is inconsistent with the hypothesis. The comparisons that was classified the work experience were found that both overview and all aspects. There was no significant difference at the .05 level. Including overview and all aspects which is inconsistent with the hypothesisen
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษากลุ่มเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษาศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 8 สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ 2) เพื่อเปรียบเทียบภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษากลุ่มเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษาศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 8 สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ จำแนกตามวุฒิการศึกษาและประสบการณ์ทำงาน กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้สอนของกลุ่มเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพ การจัดการศึกษาศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 8 สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ผู้วิจัยทำการสุ่มตัวอย่างโดยวิธีการเปิดตารางเครซี่และมอร์แกน ได้จำนวนกลุ่มตัวอย่าง 248 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที (t-test independent) และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-Way Analysis of Variance: ANOVA) จากผลการวิจัยพบว่า 1) ภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษากลุ่มเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษาศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 8 สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ภาพรวมอยู่ในระดับมาก ทั้ง 5 ด้าน ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ ด้านความน่าเคารพ รองลงมา ได้แก่ ด้านความรับผิดชอบ รองลงมา ได้แก่ ด้านความไว้วางใจ รองลงมา ได้แก่ ด้านความซื่อสัตย์ ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด ได้แก่ ด้านความยุติธรรม ตามลำดับ 2) แสดงผลการเปรียบเทียบภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษากลุ่มเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษาศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 8 สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ จำแนกตามวุฒิการศึกษา ด้านความยุติธรรม ความซื่อสัตย์ ความไว้วางใจ ความรับผิดชอบ และความน่าเคารพ พบว่า ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ทั้งภาพรวมและรายด้าน ซึ่งไม่สอดคล้องกับสมมติฐานที่ตั้งไว้ ส่วนการเปรียบเทียบจำแนกตามประสบการณ์การทำงาน พบว่า ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05  ทั้งภาพรวมและรายด้าน ซึ่งไม่สอดคล้องกับสมมติฐานที่ตั้งไว้th
dc.language.isoth
dc.publisherUniversity of Phayao
dc.rightsUniversity of Phayao
dc.subjectภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมth
dc.subjectEthical Leadershipen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.titleETHICAL LEADERSHIP OF SCHOOL ADMINISTRATOR IN THE NETWORK GROUPTO PROMOTE THE EFFICIENCY OF EDUCATIONAL MANAGEMENT REGIONALPECIAL EDUCATION CENTER 8 SPECIAL EDUCATION BUREAUen
dc.titleภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษากลุ่มเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษาศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 8สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษth
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองth
dc.contributor.coadvisorSunthon Khlal umen
dc.contributor.coadvisorสุนทร คล้ายอ่ำth
dc.contributor.emailadvisorsunthon.kh@up.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisorsunthon.kh@up.ac.th
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed. (Educational Administration))en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม. (การบริหารการศึกษา))th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineEducational Administrationen
dc.description.degreedisciplineการบริหารการศึกษาth
Appears in Collections:School of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
65204715.pdf3.25 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.