Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/1069
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPatcharin Poomjunen
dc.contributorพัชรินทร์ พุ่มจันทร์th
dc.contributor.advisorsunthon Khlal umen
dc.contributor.advisorสุนทร คล้ายอ่ำth
dc.contributor.otherUniversity of Phayaoen
dc.date.accessioned2024-06-05T15:16:14Z-
dc.date.available2024-06-05T15:16:14Z-
dc.date.created2024
dc.date.issued20/5/2024
dc.identifier.urihttp://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/1069-
dc.description.abstractThe purposes of this research were to study the situation for moving the quality policy of educational institutions under the Office of Lampang Primary Education Service Area 3 and to compare the situation for moving the quality policy of educational institutions under The Office of Lampang Primary Education Service Area 3 classified by educational level, work experience and school size. The sample group were 315 person including school administrators and teachers work in Office of Lampang Primary Education Service Area. The research instrument was questionnaire rating scale. The statistics data analysis were percentage, mean (µ), standard deviation (σ), t-test and F-test. The results of research found that 1)The situation for moving the quality policy of educational institutions under the Office of Lampang Primary Education Service Area 3. Overall of 4 topis, were at a high level in every topics. The highest topic were the quality of teachers and quality of students. Next was quality of schools and the lowest topic was the quality of area office. 2) Comparing the situation for moving the quality policy of educational institutions under the Office of Lampang Primary Education Service Area 3 that classified by educational level, work experience and school size as follows: 1) Classified by educational level. Overall, it was found that significantly different at the .05 level; when considering each topic it was found different education levels of school administrators and teachers resulting to different opinions of area office, quality of schools, quality of teachers and quality of students had a significantly different at the .05 level 2) Classified by work experience. Overall, it was found that significantly different at the .05 level; when considering each topic it was found different work experience of school administrators and teachers resulting to different opinions of area office, quality of schools, quality of teachers and quality of students had a significantly different at the .05 level and 3) Classified by school size. Overall, it was found that significantly different at the .05 level; when considering each topic it was found different school size of school administrators and teachers resulting to different opinions of area office, quality of schools, quality of teachers and quality of students had a significantly different at the .05 level.en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพการขับเคลื่อนนโยบายคุณภาพของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 3 และเพื่อเปรียบเทียบสภาพการขับเคลื่อนนโยบายคุณภาพของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 3 จำแนกตามระดับการศึกษา ประสบการณ์ทำงาน และขนาดของสถานศึกษาของผู้บริหารและครู กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ผู้บริหารและครู ในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 3 จำนวน 315 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า ได้แก่ แบบสอบถามแบบมาตรประมาณค่า (Rating Scale) สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า t-test และค่า F-test จากผลการศึกษาพบว่า 1) สภาพการขับเคลื่อนนโยบายคุณภาพของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 3 ทั้ง 4 ด้าน ในภาพรวมอยู่ในระดับมากทุกด้าน ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านครูคุณภาพ และด้านนักเรียนคุณภาพ รองลงมา คือ ด้านโรงเรียนคุณภาพ และด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ ด้านสำนักงานเขตคุณภาพ 2) เปรียบเทียบสภาพการขับเคลื่อนนโยบายคุณภาพของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 3 พบว่า 1) จำแนกตามระดับการศึกษา โดยภาพรวมพบว่า แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ผู้บริหารสถานศึกษาและครูที่มีระดับการศึกษาแตกต่างกัน มีความคิดเห็นในด้านสำนักงานเขตพื้นที่คุณภาพ ด้านโรงเรียนคุณภาพ ด้านครูคุณภาพ และด้านนักเรียนคุณภาพมีความแตกต่างกัน อย่างนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) จำแนกตามประสบการณ์ทำงาน โดยภาพรวมพบว่า แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ผู้บริหารสถานศึกษาและครูที่มีประสบการณ์ในการทำงานแตกต่างกัน มีความคิดเห็นในด้านสำนักงานเขตพื้นที่คุณภาพ ด้านโรงเรียนคุณภาพ ด้านครูคุณภาพ และด้านนักเรียนคุณภาพมีความแตกต่างกัน อย่างนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 และ 3) จำแนกตามขนาดของสถานศึกษา โดยภาพรวมพบว่า แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ผู้บริหารสถานศึกษาและครูที่อยู่ในสถานศึกษาที่มีขนาดแตกต่างกัน มีความคิดเห็นในด้านสำนักงานเขตพื้นที่คุณภาพ ด้านโรงเรียนคุณภาพ ด้านครูคุณภาพ และด้านนักเรียนคุณภาพมีความแตกต่างกัน อย่างนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th
dc.language.isoth
dc.publisherUniversity of Phayao
dc.rightsUniversity of Phayao
dc.subjectการขับเคลื่อนth
dc.subjectนโยบายth
dc.subjectคุณภาพth
dc.subjectMovingen
dc.subjectPolicyen
dc.subjectQualityen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.titleTHE SITUATION FOR MOVING THE QUALITY POLICY OF EDUCATIONALINSTITUTIONS UNDER THE OFFICE OF LAMPANG PRIMARYEDUCATIONAL SERVICE AREA 3en
dc.titleสภาพการขับเคลื่อนนโยบายคุณภาพของสถานศึกษา ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 3th
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองth
dc.contributor.coadvisorsunthon Khlal umen
dc.contributor.coadvisorสุนทร คล้ายอ่ำth
dc.contributor.emailadvisorsunthon.kh@up.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisorsunthon.kh@up.ac.th
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed. (Educational Administration))en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม. (การบริหารการศึกษา))th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineEducational Administrationen
dc.description.degreedisciplineการบริหารการศึกษาth
Appears in Collections:School of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
65204603.pdf3.16 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.