Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/1064
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Patamapron Kaswwisate | en |
dc.contributor | ปัทมพร แก้ววิเศษ | th |
dc.contributor.advisor | Sunthon Khlal um | en |
dc.contributor.advisor | สุนทร คล้ายอ่ำ | th |
dc.contributor.other | University of Phayao | en |
dc.date.accessioned | 2024-06-05T15:16:13Z | - |
dc.date.available | 2024-06-05T15:16:13Z | - |
dc.date.created | 2024 | |
dc.date.issued | 15/10/2024 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/1064 | - |
dc.description.abstract | This research aims to study: 1) The behavioral leadership characteristics of school administrators under the jurisdiction of the Phayao Primary Educational Service Area Office, District 1, 2) The motivating factors of work performance among personnel in schools under the jurisdiction of the Phayao Primary Educational Service Area Office, District 1, and 3) The relationship between the behavioral leadership characteristics of school administrators and the motivating factors of work performance among personnel in schools under the jurisdiction of the Phayao Primary Educational Service Area Office, District 1.The sample group includes administrators and staff in schools under the jurisdiction of the Phayao Primary Educational Service Area Office, District 1. The research utilized a questionnaire with a Likert scale of 5 levels. Statistical analyses employed include percentages, means, standard deviations, and Pearson's correlation coefficient. From the research findings: 1. The behavioral leadership characteristics of administrators, on average, are at a high level. Specifically, democratic leadership behavior ranks the highest, followed by relationship-oriented leadership, and task-oriented leadership ranks the lowest. 2. The motivating factors of work performance among personnel, on average, are at a high level. Specifically, the relationship with supervisors ranks the highest, followed by relationships with colleagues, and job characteristics ranks the lowest. 3. Regarding the relationship between the behavioral leadership characteristics of school administrators and the motivating factors of work performance among personnel, there is a significant positive correlation in all aspects, indicating a relatively high level of statistical significance. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ภาวะผู้นำเชิงพฤติกรรมของผู้บริหาร โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพะเยา เขต 1 2) แรงจูงใจการปฏิบัติงานของบุคลากร โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพะเยา เขต 1 3) ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงพฤติกรรมของผู้บริหารสถานศึกษากับแรงจูงใจการปฏิบัติงานของบุคลากร โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพะเยา เขต 1 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหาร บุคลากรในสถานศึกษา โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพะเยา เขต 1 เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามแบบมาตราประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและวิเคราะห์โดยการหาค่าสหสัมพันธ์อย่างง่าย ใช้สูตรของเพียร์สัน จากผลการวิจัย พบว่า 1. ภาวะผู้นำเชิงพฤติกรรมของผู้บริหาร ในภาพรวมเฉลี่ยและรายด้านทุกด้านอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า สูงสุด ได้แก่ ด้านภาวะผู้นำแบบประชาธิปไตย อยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมา ได้แก่ ด้านภาวะผู้นำแบบมุ่งความสัมพันธ์ อยู่ในระดับมาก และน้อยที่สุด ได้แก่ ด้านภาวะผู้นำแบบมุ่งเน้นผลผลิต อยู่ในระดับมาก 2. แรงจูงใจการปฏิบัติงานของบุคลากร ในภาพรวมเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า แรงจูงใจการปฏิบัติงานของบุคลากรที่อยู่ในระดับมากที่สุด สูงสุด ได้แก่ ด้านความสัมพันธ์ต่อผู้บังคับบัญชา อยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมา ได้แก่ ด้านความสัมพันธ์ต่อเพื่อนร่วมงาน อยู่ในระดับมาก และน้อยที่สุด ได้แก่ ด้านลักษณะของงานที่ได้มอบหมาย อยู่ในระดับมาก 3. จากการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงพฤติกรรมของผู้บริหารสถานศึกษากับแรงจูงใจการปฏิบัติงานของบุคลากร พบว่า ภาวะผู้นำเชิงพฤติกรรมของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพะเยา เขต 1 ในภาพรวมทุกด้านมีความสัมพันธ์ทางบวก ระดับค่อนข้างสูง กับแรงจูงใจการปฏิบัติงานของบุคลากรอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | University of Phayao | |
dc.rights | University of Phayao | |
dc.subject | ภาวะผู้นำเชิงพฤติกรรม | th |
dc.subject | แรงจูงใจในการปฏิบัติงาน | th |
dc.subject | Behavioral Leadership | en |
dc.subject | Performance Incentives | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.subject.classification | Education | en |
dc.title | RELATIONSHIP BETWEEN BEHAVIORAL LEADERSHIP OF SCHOOLADMINISTRATORS AND MOTIVATION FOR PERFORMANCE OFPERSONNEL IN EDUCATIONAL INSTITUTIONS UNDERTHE OFFICE OF PHAYAO PRIMARY EDUCATIONALSERVICE AREA 1 | en |
dc.title | ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงพฤติกรรมของผู้บริหารของสถานศึกษากับการสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพะเยา เขต 1 | th |
dc.type | Independent Study | en |
dc.type | การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง | th |
dc.contributor.coadvisor | Sunthon Khlal um | en |
dc.contributor.coadvisor | สุนทร คล้ายอ่ำ | th |
dc.contributor.emailadvisor | sunthon.kh@up.ac.th | |
dc.contributor.emailcoadvisor | sunthon.kh@up.ac.th | |
dc.description.degreename | Master of Education (M.Ed. (Educational Administration)) | en |
dc.description.degreename | การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม. (การบริหารการศึกษา)) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | Educational Administration | en |
dc.description.degreediscipline | การบริหารการศึกษา | th |
Appears in Collections: | School of Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
65204535.pdf | 3.68 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.