Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/1060
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorTippawan Chumwongen
dc.contributorทิพวรรณ ชุ่มวงศ์th
dc.contributor.advisorNamfon Gunmaen
dc.contributor.advisorน้ำฝน กันมาth
dc.contributor.otherUniversity of Phayaoen
dc.date.accessioned2024-06-05T15:16:13Z-
dc.date.available2024-06-05T15:16:13Z-
dc.date.created2024
dc.date.issued20/5/2024
dc.identifier.urihttp://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/1060-
dc.description.abstractThe objectives of this research were to 1) study the motivation level of private school teachers. Phayao Educational Service Area 1 2) Study the efficiency level of personnel administration of private schools in Phayao Educational Service Area 1 3) Study the motivation that affects the efficiency of personnel administration of private schools in Phayao Educational Service Area 1 The sample group included private school teachers in Phayao Educational Service Area 1, a total of 197 teachers from 13 schools, obtained from simple random sampling. The research instrument was a questionnaire. The 5-level rating scale has an index of consistency (IOC) between 0.67-1.00 and the reliability of the personnel management motivation questionnaire is .978 and the personnel management efficiency questionnaire is .986. Statistics used Data analysis includes percentage, mean, standard deviation. Pearson's correlation coefficient analysis and stepwise multiple regression analysis. The results of the research found that 1) the level of personnel administration motivation of private schools in Phayao Educational Service Area 1 had an overall average level at a high level; 2) the level of personnel management efficiency of private schools in Phayao Educational Service Area 1. District 1 has an overall average level at a high level. 3) Factors affecting the motivation of personnel administration of private schools in Phayao Educational Service Area 1 have 6 areas. namely, the supervisor's governance method (x14), working conditions (x11), and the relationship with subordinates. Colleagues (X8), personal success in work (X1), personal well-being (X12), policy and administration (X10) can predict the efficiency of personnel management of private schools in the area. Phayao District 1 received 43.67 percent as per the following forecast equation. The prediction equation in raw score form  Y^ =.586+ .205 (X14 ) + .190(X11 ) + .136(X8 ) + .125(X1) + .118(X12) +.096(X10) and the equation Forecast in terms of standard scores  Z^y = .267(X14 ) + .206(X11 ) + .175(X8 ) + .154(X1) + .151(X12) + .109(X10)en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับแรงจูงใจของครูโรงเรียนเอกชน เขตพื้นที่การศึกษาพะเยา เขต 1 2) ศึกษาระดับประสิทธิภาพการบริหารงานบุคคลของโรงเรียนเอกชน เขตพื้นที่การศึกษาพะเยา เขต 1 3) ศึกษาแรงจูงใจที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการบริหารงานบุคคลของโรงเรียนเอกชนเขตพื้นที่การศึกษาพะเยา เขต 1 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูโรงเรียนเอกชน เขตพื้นที่การศึกษาพะเยา เขต 1 จำนวนครู 197 คน จาก 13 โรงเรียน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม แบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) อยู่ระหว่าง 0.67-1.00 และมีค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามแรงจูงใจการบริหารงานบุคคล เท่ากับ .978 และแบบสอบถามประสิทธิภาพการบริหารงานบุคคล เท่ากับ .986 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบ stepwise ผลการวิจัย พบว่า 1) ระดับของแรงจูงใจการบริหารงานบุคคลของโรงเรียนเอกชน เขตพื้นที่การศึกษาพะเยา เขต 1 มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับมาก 2) ระดับประสิทธิภาพ การบริหารงานบุคคลของโรงเรียนเอกชน เขตพื้นที่การศึกษาพะเยา เขต 1 มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับมาก 3) ปัจจัยที่ส่งผลต่อแรงจูงใจการบริหารงานบุคคลของโรงเรียนเอกชน เขตพื้นที่การศึกษาพะเยา เขต 1 มี 6 ด้าน คือ ด้านวิธีการปกครองของผู้บังคับบัญชา (x14), ด้านสภาพการทำงาน (x11), ด้านความสัมพันธ์กับผู้บังคับบัญชาผู้ใต้บังคับบัญชา เพื่อนร่วมงาน (X8), ด้านความสำเร็จในการทำงานของบุคคล (X1), ด้านความเป็นอยู่ส่วนตัว (X12), ด้านนโยบายและการบริหารงาน (X10) สามารถพยากรณ์ประสิทธิภาพการบริหารงานบุคคลของโรงเรียนเอกชน เขตพื้นที่การศึกษาพะเยา เขต 1 ได้ร้อยละ 43.67 ดังสมการณ์พยากรณ์ต่อไปนี้ สมการพยากรณ์ในรูป คะแนนดิบ Y^ =.586+ .205 (X14 ) + .190(X11 ) + .136(X8 ) + .125(X1) + .118(X12) +.096(X10) และสมการพยากรณ์ ในรูปคะแนนมาตรฐาน  Z^y= .267(X14 ) + .206(X11 ) + .175(X8 ) + .154(X1) + .151(X12) + .109(X10)th
dc.language.isoth
dc.publisherUniversity of Phayao
dc.rightsUniversity of Phayao
dc.subjectปัจจัยที่ส่งผลth
dc.subjectการบริหารงานบุคคลของโรงเรียนเอกชนth
dc.subjectAffecting Factorsen
dc.subjectPersonnel Management of Private Schoolsen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.titleINCENTIVES THAT AFFECT THE EFFICIENCY OF PRIVATE SCHOOL PERSONNELANAGEMENT PHAYAO EDUCATIONAL SERVICE AREA 1en
dc.titleแรงจูงใจที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการบริหารงานบุคคลของโรงเรียนเอกชนเขตพื้นที่การศึกษาพะเยา เขต 1th
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองth
dc.contributor.coadvisorNamfon Gunmaen
dc.contributor.coadvisorน้ำฝน กันมาth
dc.contributor.emailadvisornumfon.gu@up.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisornumfon.gu@up.ac.th
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed. (Educational Administration))en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม. (การบริหารการศึกษา))th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineEducational Administrationen
dc.description.degreedisciplineการบริหารการศึกษาth
Appears in Collections:School of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
65204489.pdf1.92 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.