Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/1048
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Korntip Noopangtha | en |
dc.contributor | กรทิพย์ นุแปงถา | th |
dc.contributor.advisor | Wannakorn Phornprasert | en |
dc.contributor.advisor | วรรณากร พรประเสริฐ | th |
dc.contributor.other | University of Phayao | en |
dc.date.accessioned | 2024-06-05T15:16:12Z | - |
dc.date.available | 2024-06-05T15:16:12Z | - |
dc.date.created | 2024 | |
dc.date.issued | 20/5/2024 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/1048 | - |
dc.description.abstract | The objectives of this study are to investigate: 1) the digital leadership proficiency of educational institution administrators within Area 1 of Nan Primary Educational Service Area Office, 2) the efficacy level of educational institutions in Area1 under the jurisdiction of Nan Primary Educational Service Area Office, 3) how digital leadership affects institutional effectiveness of the educational institutions in Nan Primary Educational Service Area Office, Area 1, and 4) to develop a predictive equation for digital leadership's impact on institutional effectiveness. The sample group comprised of 333 teachers was determined using Taro Yamane's ready-made table through a multi-step random sampling process. A questionnaire with a 5-level rating scale was used as the research instrument, while statistical analyses included percentage distributions, means, standard deviations, Pearson's correlation coefficient and multiple regression analysis. The research findings indicate that 1) school administrators under the jurisdiction of Nan Primary Education Service Area Office, Area 1 have high levels of digital leadership in various aspects. The average values from highest to lowest are promotion and support, digital vision, seeking knowledge, digital culture, digital communication and digital literacy. 2) The effectiveness of Educational Institutions in Area 1 of Nan Primary Educational Service Area Office. The average values of effectiveness level overall and in every aspect are very high, from highest to lowest were as follows: job satisfaction of teachers and personnel, student characteristics and student academic achievement. 3) Digital leadership affecting the effectiveness of educational institutions under Nan Primary Education Service Area Office, Area 1 consists of seeking knowledge, promotion together with support, and digital literacy all of which can predict the effectiveness of educational institutions statistically significant at .01 level which can be as an equation forecasting the effectiveness of the educational institution in the form of raw scores and the equation in standard form. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 2) ศึกษาระดับประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 3) ศึกษาภาวะผู้นำดิจิทัลที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 4) เพื่อสร้างสมการพยากรณ์ของภาวะผู้นำดิจิทัลที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ข้าราชการครู จำนวน 333 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างด้วยการใช้ตารางสำเร็จรูปของทาโร่ ยามาเน่ ใช้วิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามเป็นมาตรประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ด้วยวิธีการ Stepwise จากผลวิจัย พบว่า 1) ระดับภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 โดยภาพรวมและรายด้านทุกด้าน มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก เรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ด้านการส่งเสริม สนับสนุนอย่างมีส่วนร่วม ด้านวิสัยทัศน์ดิจิทัล ด้านการแสวงหาความรู้ ด้านวัฒนธรรมดิจิทัล ด้านการสื่อสารดิจิทัล และด้านการรู้ดิจิทัล 2) ประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 โดยภาพรวม และรายด้านทุกด้านมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก เรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ด้านความพึงพอใจ ในงานของครูและบุคลากร ด้านคุณลักษณะของนักเรียน และด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน 3) ภาวะผู้นำดิจิทัลที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 คือ ด้านการแสวงหาความรู้ ด้านการสื่อสารดิจิทัล ด้านการส่งเสริม สนับสนุนอย่างมีส่วนร่วม และด้านการรู้ดิจิทัล สามารถพยากรณ์ประสิทธิผลของสถานศึกษา อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 เขียนเป็นสมการพยากรณ์ประสิทธิผลสถานศึกษาในรูปคะแนนดิบ และสมการในรูปแบบมาตรฐาน | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | University of Phayao | |
dc.rights | University of Phayao | |
dc.subject | ภาวะผู้นำดิจิทัล | th |
dc.subject | ประสิทธิผลของสถานศึกษา | th |
dc.subject | Digital leadership | en |
dc.subject | Effectiveness in school | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.subject.classification | Education | en |
dc.subject.classification | Education science | en |
dc.title | DIGITAL LEADERSHIP AFFECTING SCHOOL EFFECTIVENESSIN SCHOOL UNDER THE OFFICE OF NAN PRIMARYEDUCATIONAL SERVICE AREA 1 | en |
dc.title | ภาวะผู้นำดิจิทัลที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 | th |
dc.type | Independent Study | en |
dc.type | การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง | th |
dc.contributor.coadvisor | Wannakorn Phornprasert | en |
dc.contributor.coadvisor | วรรณากร พรประเสริฐ | th |
dc.contributor.emailadvisor | wannakorn.ph@up.ac.th | |
dc.contributor.emailcoadvisor | wannakorn.ph@up.ac.th | |
dc.description.degreename | Master of Education (M.Ed. (Educational Administration)) | en |
dc.description.degreename | การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม. (การบริหารการศึกษา)) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | Educational Administration | en |
dc.description.degreediscipline | การบริหารการศึกษา | th |
Appears in Collections: | School of Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
65204333.pdf | 1.39 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.