Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/1047
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Kanokpon Nuratana | en |
dc.contributor | กนกพล นุระธนะ | th |
dc.contributor.advisor | santi Buranachart | en |
dc.contributor.advisor | สันติ บูรณะชาติ | th |
dc.contributor.other | University of Phayao | en |
dc.date.accessioned | 2024-06-05T15:16:12Z | - |
dc.date.available | 2024-06-05T15:16:12Z | - |
dc.date.created | 2024 | |
dc.date.issued | 20/5/2024 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/1047 | - |
dc.description.abstract | The purpose of this research was to study the conditions of strategic management of opportunity expansion school under lampang primary education service area office 2. The comparison of the condition of strategic management of opportunity expansion school under lampang primary education service area office 2 classified by school size, educational level, and work experience. The population of this research was educational institution administrators and department heads in schools that expanded educational opportunities, totaling 127 people. The instruments used were a rating scale questionnaire. The statistics used were percentage, mean, standard deviation, t-test, and F-test. This research aimed at 1) The condition of strategic management of opportunity expansion school under lampang primary education service area office 2, was overall at a high level. The biggest topic was strategy implementation. Next was strategic planning, environmental analysis, and strategic evaluation and control. 2) The comparison of the condition of strategic management of opportunity expansion school under lampang primary education service area office 2, classified by school size and educational level. Overall, there are no significant differences. The comparison of the condition of strategic management of opportunity expansion school under lampang primary education service area office 2, classified by work experience, had different statistical significance at level 0.05. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพการบริหารเชิงกลยุทธ์ของโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 2 2) เพื่อเปรียบเทียบสภาพการบริหารเชิงกลยุทธ์ของโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 2 จำแนกตามขนาดของโรงเรียน วุฒิการศึกษา และประสบการณ์ในการทำงาน ประชากร ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา และครูที่ทำหน้าที่หัวหน้าฝ่ายในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา จำนวน 127 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า ได้แก่ แบบสอบถามเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า t-test และค่า F-test ผลการวิจัย พบว่า 1) สภาพการบริหารเชิงกลยุทธ์ของโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 2 โดยรวมอยู่ในระดับมาก พิจารณาเป็นรายด้าน ด้านการนำกลยุทธ์ไปปฏิบัติ มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมา ด้านการวางแผนกลยุทธ์ ด้านการประเมินสภาวะแวดล้อมภายนอกและภายในองค์การ และด้านการควบคุมและประเมินผลกลยุทธ์ ตามลำดับ 2) การเปรียบเทียบ สภาพการบริหารเชิงกลยุทธ์ของโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 2 จำแนกตามขนาดของโรงเรียน และวุฒิการศึกษา โดยภาพรวม พบว่า ไม่แตกต่างกันและจำแนกตามประสบการณ์การทำงาน โดยภาพรวม พบว่า แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | University of Phayao | |
dc.rights | University of Phayao | |
dc.subject | การบริหารเชิงกลยุทธ์ | th |
dc.subject | การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม | th |
dc.subject | การวางแผนกลยุทธ์ | th |
dc.subject | การนํากลยุทธ์ไปปฏิบัติ | th |
dc.subject | การควบคุมและประเมินผลกลยุทธ์ | th |
dc.subject | Strategic Management | en |
dc.subject | Environmental Analysis | en |
dc.subject | Strategic Planning | en |
dc.subject | Strategy Implementation | en |
dc.subject | Strategic Evaluation and Control | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.subject.classification | Education | en |
dc.title | THE CONDITION OF STRATEGIC MANAGEMENT OF OPPORTUNITY EXPANSION SCHOOL UNDER LAMPANG PRIMARY EDUCATION SERVICE AREA OFFICE 2 | en |
dc.title | สภาพการบริหารเชิงกลยุทธ์ของโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 2 | th |
dc.type | Independent Study | en |
dc.type | การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง | th |
dc.contributor.coadvisor | santi Buranachart | en |
dc.contributor.coadvisor | สันติ บูรณะชาติ | th |
dc.contributor.emailadvisor | santi.bu@up.ac.th | |
dc.contributor.emailcoadvisor | santi.bu@up.ac.th | |
dc.description.degreename | Master of Education (M.Ed. (Educational Administration)) | en |
dc.description.degreename | การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม. (การบริหารการศึกษา)) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | Educational Administration | en |
dc.description.degreediscipline | การบริหารการศึกษา | th |
Appears in Collections: | School of Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
65204322.pdf | 2.64 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.