Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/1006
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPensuda Sutawongen
dc.contributorเพ็ญสุดา สุตวงค์th
dc.contributor.advisorThidawan Unkongen
dc.contributor.advisorธิดาวัลย์ อุ่นกองth
dc.contributor.otherUniversity of Phayaoen
dc.date.accessioned2024-06-05T15:16:08Z-
dc.date.available2024-06-05T15:16:08Z-
dc.date.created2024
dc.date.issued20/5/2024
dc.identifier.urihttp://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/1006-
dc.description.abstractThe objective of this research is to conduct research on the Educational Management Model for Border Schools of the Basic Education Commission. There are three steps to conducting the research. as follows Step 1: Study of the condition and management guidelines for Border Schools of the Basic Education Commission. Step 1.1: Study the management conditions for Border Schools of the Basic Education Commission. Step 1.2: Study of management guidelines l for Border Schools of the Basic Education Commission by interviewing experts. Step 2: Creating and examining the Educational Management Model for Border Schools of the Basic Education Commission. Checking the appropriateness of the format by focusing on a group of experts and Step 3: Assessment of the Educational Management Model for Border Schools of the Basic Education Commission. The online assessment for the feasibility and usefulness of implementing the Educational Management Model for Border Schools of the Basic Education Commission was conducted by a sample of 302 administrators of marginalized schools under the Basic Education Board. The results of the research showed that 1) the results of the study on the condition and management for Border Schools of the Basic Education Commission consisted of: 1.1) the context of marginalized school areas located in areas adjacent to the border areas with the country; Laos Republic of Myanmar and Kingdom of Cambodia 2) Most of the education is organized at the basic education level, from kindergarten 1 to grade 6. 3) General conditions that affect the quality of education in marginalized areas, including economic, social, security, and transportation. 4) Organizational Condition Analysis (SWOT) of marginalized schools, academics, personnel, general administration, and budgetary aspects 1.2) Management guidelines for Border Schools of the Basic Education Commission 1) Principles 2) Objectives 3) Process 4) Success Factors 2) The results of creating a model for the Educational Management Model for Border Schools of the Basic Education Commission consist of four components: 1) principles, 2) objectives 3) processes, including planning. operation. commanding, and monitoring, 4) Success Factors: The experts agreed that the Educational Management Model for Border Schools of the Basic Education Commission was appropriate, and 3) The results of the assessment of the Educational Management Model for Border Schools of the Basic Education Commission. There is an overview, possibilities, and a large level of usefulness.en
dc.description.abstractการวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อวิจัย เรื่อง รูปแบบการบริหารจัดการโรงเรียนชายขอบ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นการวิจัยและพัฒนา มีขั้นตอนในการดำเนินการวิจัยทั้งสิ้น 3 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาสภาพและแนวการบริหารจัดการโรงเรียนชายขอบ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ขั้นที่ 1.1 การศึกษาสภาพการบริหารจัดการโรงเรียนชายขอบ โดยจากโรงเรียนชายขอบที่มีผลการบริหารจัดการศึกษาเป็นที่ยอมรับ จำนวน 5 แห่ง ขั้นที่ 1.2 การศึกษาแนวทางการบริหารจัดการโรงเรียนชายขอบ โดยการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 12 คน ขั้นตอนที่ 2 การสร้างและตรวจสอบรูปแบบการบริหารจัดการโรงเรียน ชายขอบ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน การตรวจสอบความเหมาะสมของรูปแบบโดยการสนทนากลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 9 คน และขั้นตอนที่ 3 การประเมินรูปแบบการบริหารจัดการโรงเรียนชายขอบ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยแบบประเมินออนไลน์เพื่อความเป็นไปได้และความเป็นประโยชน์ของการนำรูปแบบการบริหารจัดการโรงเรียนชายขอบ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานไปใช้ โดยกลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้บริหารโรงเรียนชายขอบสังกัดคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน 302 คน สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลคือค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่า 1) ผลการศึกษาสภาพและแนวการบริหารจัดการโรงเรียนชายขอบ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประกอบด้วย 1.1) สภาพบริบทของพื้นที่โรงเรียนชายขอบตั้งอยู่ในบริเวณที่ติดกับพื้นที่ชายแดนติดต่อกับประเทศ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา และราชอาณาจักรกัมพูชา 2) จัดการศึกษาส่วนใหญ่จัดในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตั้งแต่ชั้นอนุบาลปีที่ 1 – มัธยมศึกษาปีที่ 6 มีบุคลากรทางการศึกษา 3) สภาพทั่วไปที่ส่งผลต่อคุณภาพการศึกษาในพื้นที่ชายขอบ ได้แก่ ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านความมั่นคง ด้านคมนาคม ด้านสาธารณสุข และด้านสิ่งแวดลอม 4) การวิเคราะห์สภาพองค์กร (SWOT) ของโรงเรียนชายขอบ ด้านวิชาการ ด้านบุคลากร ด้านบริหารทั่วไป และด้านงบประมาณ 1.2) แนวทางการบริหารจัดการโรงเรียนชายขอบ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1) หลักการ 2) วัตถุประสงค์ 3) กระบวนการ 4) ปัจจัยสู่ความสำเร็จ 2) ผลการสร้างรูปแบบทางการบริหารจัดการโรงเรียน ชายขอบ สังกัดคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) หลักการ 2) วัตถุประสงค์ 3) กระบวนการ ได้แก่ การวางแผน การดำเนินงาน การอำนวยการ และการติดตามประเมินผล 4) ปัจจัย สู่ความสำเร็จ โดยผู้ทรงคุณวุฒิมีความเห็นสอดคล้องกันว่าทางการบริหารจัดการโรงเรียนชายขอบ สังกัดคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความเหมาะสม และ 3) ผลการประเมินทางการบริหารจัดการโรงเรียนชายขอบ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยผู้ใช้รูปแบบฯ มีความเห็นสอดคล้องกันว่า ทางการบริหารจัดการโรงเรียนชายขอบ มีภาพรวมมีความเป็นไปได้และมีความเป็นประโยชน์อยู่ในระดับมากth
dc.language.isoth
dc.publisherUniversity of Phayao
dc.rightsUniversity of Phayao
dc.subjectรูปแบบการบริหารจัดการth
dc.subjectโรงเรียนชายขอth
dc.subjectสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานth
dc.subjectThe Educational Management Modelen
dc.subjectBorder Schoolsen
dc.subjectBasic Education Commissionen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.titleTHE EDUCATIONAL MANAGEMENT MODEL FOR BORDER SCHOOLS OFTHE BASIC EDUCATION COMMISSIONen
dc.titleรูปแบบการบริหารจัดการโรงเรียนชายขอบสังกัดคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานth
dc.typeDissertationen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorThidawan Unkongen
dc.contributor.coadvisorธิดาวัลย์ อุ่นกองth
dc.contributor.emailadvisorthidawan.un@up.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisorthidawan.un@up.ac.th
dc.description.degreenameDoctor of Philosophy (Ph.D (Educational Administration))en
dc.description.degreenameการศึกษาดุษฎีบัณฑิต (กศ.ด. (การบริหารการศึกษา))th
dc.description.degreelevelDoctoral Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาเอกth
dc.description.degreedisciplineEducational Administrationen
dc.description.degreedisciplineการบริหารการศึกษาth
Appears in Collections:School of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61501160.pdf6.44 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.